อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - ตติยาวิภัตติและปัญจมีวิภัตติ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ หน้า 113
หน้าที่ 113 / 118

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับตติยาวิภัตติและปัญจมีวิภัตติในบาลี ซึ่งอธิบายการใช้คำว่า 'ข้าง' และ 'แต่' พร้อมทั้งตัวย่างการแปลศัพท์เดิมและรูปสำเร็จ เช่น สพฺพ โต (ทั้งปวง) และ อญฺญโต (แต-นอกนี้) เช่นเดียวกับการแปลคำที่มีความหมายแตกต่างกันในความเป็นจริง

หัวข้อประเด็น

-ตติยาวิภัตติ
-ปัญจมีวิภัตติ
-ศัพท์บาลี
-การแปลคำบาลี
-ไวยากรณ์บาลี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 111 คือ ตติยาวิภัตติ ๑ ปัญจมีวิภัตติ ๑. ตติยา ให้แปลอายตนิบาตว่า "ข้าง" ปัญมี ให้แปลอายตนิบาตว่า "แต่" ดังอุทาหรณ์ ต่อไปนี้ :- ศัพท์เดิม ปัจจัย รูปสำเร็จ แปลว่า สพฺพ โต สพฺพโต แต่-ทั้งปวง " อญฺญ อญฺญตร อิตร อญฺญโต แต-อน " อญฺญตรโต แต่อันใดอันหนึ่ง " อิตรโต แต่-นอกนี้ เอก " เอกโต ข้างเดียว " อุภ ปร อุภโต สองข้าง " ปรโต ข้างอื่น " ต ตโต แต่-นั้น เอต " เอโต แต-นน อิม อปร ปุร ปจฺฉ ทกฺขิณ " " อิโต แต-น " อปรโต ข้างอื่นอีก ปุรโต ข้างหน้า " ปจฺฉโต ข้างหลัง " ทกฺขิณโต ข้างขวา " วาม วามโต ข้างซ้าย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More