อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ หน้า 80
หน้าที่ 80 / 118

สรุปเนื้อหา

บทความนี้อธิบายเกี่ยวกับอุดมบุรุษในภาษาบาลี โดยเจาะลึกถึงปุริสสัพพนามที่ใช้ในการสนทนา รวมถึงประเภทต่างๆ ของการใช้คำ เช่น อิฉัน ผู้ใหญ่ สามัญ และคำแปลที่แตกต่างกันตามกาลสมัยและท้องถิ่น ผู้เขียนแสดงให้เห็นถึงการแจกวิภัตติและการใช้คำกริยาในบริบทที่ถูกต้องอย่างชัดเจน และยังเสนอข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการใช้ศัพท์ต่างๆ เพื่อการสื่อสารที่ถูกต้องในแต่ละสถานการณ์

หัวข้อประเด็น

-อุดมบุรุษ
-ปุริสสัพพนาม
-การแจกวิภัตติ
-การใช้คำในภาษาไทย
-ความหมายตามกาลสมัยและท้องถิ่น

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 78 อุดมบุรุษ ผู้พูด ผู้ฟัง อิฉัน ผู้น้อย (หญิง) ผู้ใหญ่, ไม่ใช่เจ้านาย ตู (โบราณ) สามัญ สามัญ ข้า (โบราณ) ผู้น้อย ผู้ใหญ่ ข้า, กู (ไม่สุภาพ) ผู้เป็นนาย, เพื่อนกัน คนใช้, เพื่อกัน เรา (โบราณ) ผู้ใหญ่ ผู้น้อย เรา ทั่วไปหลายคน ทั่วไปไม่ใช่เจ้านาย และขุนนางชั้นสูง ข้าพเจ้า ข้าเจ้า ทุก ม ใช้เป็นกลางทั่วไป คำแปลของปุริสสัพพนาม คือ ๓ ตุมห อมห ที่กล่าวมา แล้วนี้ ยังไม่สิ้นเชิง คำพูดของภาษาไทยที่ใช้ในคำประเภทนี้มีมาก อาจหมุนเวียนไปตามกาลสมัย และท้องถิ่นนั้น ๆ นิยมกัน วิธีใช้ ตุมห และ อมห ทั้งสองศัพท์นี้ สำหรับใช้แทนนามคู่สนทนา ดังกล่าวแล้ว และ จะต้องนำไปแจกวิภัตติเสียก่อนเหมือนศัพท์ทั้งหลายอื่น แต่การแจก วิภัตตินั้น ก็แจกมีรูปอย่างเดียวกันทั้ง ลิงค์ และ อิตถีลิงค์ ดังที่ท่าน แสดงไว้ในแบบนามนั้นแล้ว
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More