อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ หน้า 79
หน้าที่ 79 / 118

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการใช้คำแทนตัวในภาษาบาลีและภาษาไทย ที่สัมพันธ์กับฐานะและชั้นเชิงของผู้พูด เช่น การใช้ 'ข้าพระพุทธเจ้า' สำหรับพระราชา และ 'อาตมภาพ' สำหรับพระสงฆ์ รวมถึงการเลือกใช้คำที่เหมาะสมตามโครงสร้างทางสังคม เช่น 'กระหม่อม' หรือ 'ดีฉัน' เพื่อความสุภาพและเหมาะสมในแต่ละสถานการณ์และชนชั้น รวมถึงความสำคัญของการใช้ภาษาที่ถูกต้องตามนโยบายทางภาษาและวัฒนธรรมที่มีอยู่

หัวข้อประเด็น

-การใช้อุดมบุรุษในบาลี
-การเทียบเคียงชั้นของผู้พูด
-ความสำคัญของภาษาในสังคม
-การเลือกใช้คำที่เหมาะสม
-บทบาทของผู้พูดในภาษาศาสตร์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 77 อมุห ศัพท์เดียวเท่านั้น สำหรับใช้แทนชื่อผู้พูด แต่ถ้าจะแปลเป็น ภาษาไทยก็ได้หลายคำ เช่น ฉัน ข้า กู เป็นต้น ตามลำดับฐานะ ชั้นเชิงของผู้พูดนั้น เพื่อให้เหมาะสมกับความสูงต่ำหรือเสมอกันกับ ผู้ฟัง ทั้งให้ถูกต้องตามภาษานิยมด้วย จึงดูวิธีใช้อุดมบุรุษในภาษา ไทย ดังต่อไปนี้ :- อมห อุดมบุรุษ แปลเป็นไทย ใช้ให้ถูกต้องตามชั้นของผู้พูด อุดมบุรุษ ข้าพระพุทธเจ้า เกล้ากระผม ผู้ฟัง พระราชา, ชา, เจ้านายชั้นสูง เจ้านายชั้นรองลงมา ผู้พูด ผู้น้อยทั่วไป ผู้น้อยทั่วไป กระหม่อนฉัน เจ้านายผู้ใหญ่ หรือ เจ้านายเสมอกันหรือ หม่อนฉัน ผู้เสมอกัน, ขุนนาง ผู้น้อย กระหม่อม ผู้ใหญ่ อาตมภาพ พระสงฆ์ พระราชา, เจ้านาย, เกล้ากระผม เกล้าผม ผู้น้อยทั่วไป ขุนนาง ขุนนางชั้นสูง, พระ ราชาคณะชั้นสูง กระผม ขุนนางผู้ใหญ่ หรือ พระสงฆ์, ขุนนาง เสมอ ผู้เสมอกัน, คนสุภาพ กัน, คนสุภาพ ผู้น้อย, ดีฉัน (โบราณ) ผู้ใหญ่ พระสงฆ์ผู้น้อย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More