บาลีไวยากรณ์: นิบาตบอกอาลปนะและกาล อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ หน้า 106
หน้าที่ 106 / 118

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับบาลีไวยากรณ์ที่กล่าวถึงนิบาตบอกอาลปนะ ซึ่งมีการอธิบายความหมายและการใช้งาน รวมทั้งวิธีการจัดกลุ่มศัพท์ตามฐานะของผู้พูด โดยเน้นการใช้ในคำทักทายและการเรียกชื่อ นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงนิบาตบอกกาลที่เกี่ยวข้องกับการระบุเวลาและวันต่างๆ รวมถึงศัพท์ที่ใช้ในการบ่งบอกสถานที่หรือที่ตั้ง.

หัวข้อประเด็น

-บาลีไวยากรณ์
-นิบาตบอกอาลปนะ
-นิบาตบอกกาล
-ศัพท์ในบาลี
-การใช้ในภาษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 104 นิบาตบอกอาลปนะ ยคเฆ ภนฺเต ภทนฺเต ภเณ อมฺโภ อาวุโส เร อเร เห เช ทั้ง ๑๐ ศัพท์ รวมเรียกว่า "นิบาตบอกอาลปนะ" ทั้งสิ้น เพราะฉะนั้น ผู้แรกศึกษาจึงกำหนดด้วยว่า มีหน้าที่ใช้เป็นคำทักทาย และร้องเรียก เหมือนกับวิภัตติแผนกอาลปนะในนามตามที่กล่าวแล้ว แต่นิบาตบอกอาลปนะนี้ ศัพท์หนึ่ง ๆ นิยมใช้เฉพาะบุคคลเป็นพวก ๆ หาได้สาธารณะทั่วไปแก่บุคคลอื่นไม่ จำกัดให้ใช้เฉพาะบุคคลตาม ฐานะสูงและต่ำ ดังอุทราหรณ์ในแบบบาลีไวยากรณ์ อันท่านแสดงไว้ อย่างชัดเจนแล้ว. นิบาตบอกกาล อถ แปลว่า ครั้งนั้น หยุโย แปลว่า วันวาน ปาโต " เช้า เสว วันพรุ่งนี้ ทิวา วัน สมุปติ " บัดเดี๋ยวนี้ สาย เงิน อายติ " ต่อไป " สุเว ในวัน ทั้ง ๕ ศัพท์นี้ ทางสัมพันธ์เรียกว่ากาลสัตตมี นิบาตบอกที่ อุทฺธ์ แปลว่า เบื้องบน อุปริ " อโธ " พหิทธา แปลว่า ภายนอก พาหิรา " โอริ "
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More