คำอธิบายบาลีไวยากรณ์: นามและอัพยยศัพท์ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ หน้า 107
หน้าที่ 107 / 118

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้นำเสนอเกี่ยวกับคำศัพท์ในบาลีที่มีการใช้บางอย่างในบริบทต่างๆ โดยอธิบายความหมายและการใช้งานของศัพท์เหล่านี้ในภาษา รวมถึงการถ่ายทอดความหมายของคำว่า 'อาธาร' และ 'วิทยาตา' ที่มีความเกี่ยวข้องกับการแสดงปริมาณและความสัมพันธ์ในภาษา. นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงเงินศัพท์ที่มีการอุปมาอุปไมย เช่น 'เสยฺยถา' ที่แปลว่า 'ฉันใด' และ 'ตถา' เป็นต้น ตัวอย่างที่ยกขึ้นมาเป็นการอธิบายการใช้ที่สำคัญในพื้นฐานการเรียนรู้บาลี.

หัวข้อประเด็น

- อธิบายศัพท์บาลี
- ความหมายและการใช้ศัพท์
- สัมพันธ์ในบาลีไวยากรณ์
- อุปไมยและอุปมา
- ปริจเฉทและการแสดงประมาณ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

" ระหว่าง หุร เหฏฐา อนุตรา อนุโต ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 105 แปลว่า ภายใต้ ปาร์ ภายใน แปลว่า ฝั่งนอก " โลกอื่น สมมุขา ต่อหน้า ติโร " ภายนอก ปรมมุขา " ลับหลัง " 11 รโห " ที่ลับ พหิ ทั้ง ๑๖ ศัพท์นี้ ทางสัมพันธ์รวมเรียกอย่างเดียวกันกับอรรถแห่ง สัตตมีวิภัตติว่า "อาธาร" นิบาตบอกปริจเฉท ยาวตา แปลว่า มีประมาณเพียงใด กีว แปลว่า เพียงไร " ยาว เพียงใด ตาวตา " มีประมาณเพียงนั้น " ตาว " ยาวเทว เพียงใดนั่นเทียว ตาวเทว เพียงนั้น กิตฺตาวตา " มีประมาณเท่าใด เอตตาวตา " มีประมาณเท่านั้น สมมตา รอบคอบ เพียงนั้นนั่นเทียว ทั้ง ๑๐ ศัพท์นี้ ทางสัมพันธ์ มักใช้เป็นปริจเฉทนัตถะเป็นพื้น ที่เรียก "กิริยาวิเสสนะ"ก็มี นิบาตบออุปมาอุปไมย เสยฺยถา แปลว่า ฉันใด วิย แปลว่า ราวกะ อิว " ยถา เพียงดัง ฉันใด " ตถา ฉันได เอว ทั้ง ๖ ศัพท์นั้น สำหรับ ตถา และ เอว์ ทางสันพันธ์ เรียก ว่า "อุปไมยโชดก" นอกนั้นเรียก "อุปมาโชดก " ฉันนั้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More