การอธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ หน้า 48
หน้าที่ 48 / 118

สรุปเนื้อหา

เอกสารนี้อธิบายถึงการใช้คำศัพท์ในภาษาบาลี โดยเฉพาะคำที่มีเสียง 'อะ' และการจัดกลุ่มคำศัพท์ในแบบต่างๆ รวมถึงการใช้ นตติยาวิภัตติและสุมาในการผันคำ ตลอดถึงตัวอย่างการใช้งานที่หลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจในหลักไวยากรณ์ได้ดียิ่งขึ้น บทเรียนเน้นความสำคัญของการเปลี่ยนรูปคำและการใช้ในบริบทต่างๆ พร้อมชี้แจงข้อแตกต่างในแบบการใช้ของแต่ละแบบพลศาสตร์ในภาษาบาลี.

หัวข้อประเด็น

-หลักการของนามและอัพยยศัพท์
-การจัดกลุ่มศัพท์มโนคณะ
-การใช้ นตติยาวิภัตติ
-การเปลี่ยนรูปคำบาลี
-ตัวอย่างการใช้ในประโยคต่างๆ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เอก. ป. กมุม เอา อะ กับ สิ เป็น อู๋ ท. กมุมิ คง อู๋ ไว้ ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 47 บางคราวศัพท์ที่มีเสียง อะ เป็นที่สุด จะเป็นจำพวกศัพท์มโนคณะ หรือมิใช่ก็ตาม เรียงอยู่ข้างหน้า ท่านให้เอา นา ตติยาวิภัตติเป็น โส ได้บ้าง เช่น สุตฺตโส พฺยญฺชนโส และบางทีก็เอา สุมา ปญฺจมี วิภัตติเป็น โส ได้บ้างเหมือนกัน เช่น อุรโส ทีฆโส เป็นต้น, กมุม (กรรม) เป็นนปัสกลิงค์ แจกอย่างนี้ :- พหุ. กมฺมานิ เอา อะ กับ โย เป็น อานิ กมฺมานิ (เหมือน ป. พหุ.) ต. กมฺมุนา เอา อะ เป็น อุ คง นา ไว้ กมฺเมหิ เอา อะ เป็น เอ คง หิ ไว้ กมฺเม เอา หิ เป็น ภิ จ. กมฺมุโน เอา อะ เป็น อุ กมฺมาน ทีฆะ อะ เป็น อา คง เอา ส เป็น โน น์ ไว้ ปญฺ. กมฺมุนา เอา อะ เป็น อุ กมฺเมหิ เอา สุมา เป็น นา กมฺเมริ (เหมือน ต. พหุ.) ฉ. กมฺมุโน (เหมือน จ. เอก.) กมฺมานํ (เหมือน จ. พหุ.) ส. กมุมนิ เอา สฺมึ เป็น นิ อา. กมุม ลบ สิ เสีย กมฺเมสุ เอา อะ เป็น เอ คง สุ ไว้ กมฺมานิ (เหมือน ป. พหุ.)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More