อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ หน้า 78
หน้าที่ 78 / 118

สรุปเนื้อหา

บทความนี้อธิบายเกี่ยวกับบาลีไวยากรณ์ โดยเฉพาะการใช้ชั้นผู้พูดและชั้นผู้ฟังในภาษาบาลี การใช้คำแทนเช่น 'ผม' ที่เป็นอุดมบุรุษ ตัวอย่างการใช้ในบทสนทนา การแยกประเภทผู้พูดและฟังเพื่อให้เข้าใจความหมายในบริบทต่างๆ เนื้อหาจัดเรียงตามประเภทและความสำคัญของผู้พูดและผู้ฟัง พร้อมคำอธิบายเฉพาะในภาษาบาลีซึ่งมีความสำคัญในด้านการศึกษาภาษาศาสตร์และศาสนาพุทธ

หัวข้อประเด็น

-การอธิบายบาลีไวยากรณ์
-การใช้คำแทนในภาษาบาลี
-ประเภทผู้พูดและผู้ฟัง
-การศึกษาภาษาศาสตร์
-ศาสนาพุทธ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คำ มัธยมบุรุษ ท่าน คุณ ประโยค๑ - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 76 ชั้นผู้พูด (อมฺห) ชั้นผู้ฟัง (ตุมห) คนสุภาพทั่วไป, คนสุภาพทั่วไป, พระ คฤหัสถ์, พระสงฆ์ที่ สงฆ์ ที่มีพรรษามาก มีพรรษาน้อยกว่า กว่า คนสุภาพทั่วไป, พระ สงฆ์มีพรรษามาก กว่า กว่า คนสุภาพทั่วไป, พระ สงฆ์ผู้มีพรรษาน้อย หล่อน ชายที่รัก หญิงที่รัก สู (โบราณ) ผู้ใหญ่ ผู้น้อย, เอ็ง แก มึง ผู้เป็นนาย หรือ ผู้น้อย, เพื่อนที่ชอบ ผู้ใหญ่กว่า เพื่อน ที่ชอบพอกัน พอกัน ศัพท์นี้จัดเป็น อุตตมปุริส หรือ อุดมบุรุษ สําหรับใช้แทนชื่อ ผู้พูด ภาษาทั่วไปเมื่อพูดจะออกชื่อตนเอง ไม่ออกชื่อตรงๆ หาคำ อื่นมาใช้แทน จึงต้องบัญญัติคำขึ้นคำหนึ่ง สำหรับใช้แทนชื่อผู้พูด เพื่อให้คู่สนทนาเข้าใจความหมาย เช่นตัวอย่างว่า พระ ก. บอกกับ พระ ข. ว่า "วันนี้ผมอาพาธ" คำว่า "ผม" เป็นคำแทนชื่อของ พระ ก. ซึ่งเป็นตัวผู้พูด และเป็นอุดมบุรุษ ในภาษาบาลีท่านบัญญัติ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More