อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ หน้า 108
หน้าที่ 108 / 118

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้อธิบายแนวทางและการใช้คำในบาลี โดยแบ่งเป็นกลุ่มต่างๆ เช่น นิบาตที่บอกความหมาย การปฏิเสธ และการได้ยิน ซึ่งสำคัญต่อการเข้าใจบาลีอย่างถูกต้อง นอกจากนี้ยังอธิบายถึงกลุ่มศัพท์ที่มีความหมายสัมพันธ์กัน เช่น ปการตฺถ และ ปฏิเสธนตฺถ ซึ่งใช้ในโครงสร้างการสื่อสารที่แตกต่างกัน โดยมีตัวอย่างการใช้คำเพื่อให้เข้าใจได้ง่าย ในการศึกษาไวยากรณ์บาลี.

หัวข้อประเด็น

-หลักการใช้สำนวนบาลี
-กลุ่มคำหลักในบาลี
-แนวทางการศึกษาไวยากรณ์บาลี
-การแปลความหมายในบริบทต่างๆ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 106 นิบาตบอกประการ ด้วยประการนั้น เอว์ แปลว่า ตถา 11 ด้วยประการนั้น กฏ " ด้วยประการไร ทั้ง ๓ ศัพท์นี้ ทางสัมพันธ์ เรียกว่า "ปการตฺถ." မာ นิบาตบอกปฏิเสธ น แปลว่า ไม่ เอว แปลว่า นั่นเทียว โน ไม่ วินา " เว้น " มา อย่า อล " พอ เทียว ว ทั้ง ๒ ศัพท์นี้ ทางสัมพันธ์ เรียกว่า "ปฏิเสธนตฺถ" 0 นิบาตบอกความได้ยินเล่าลือ แปลว่า ได้ยินว่า กิร ขลุ สุท " ทั้ง ๓ ศัพท์นี้ ทางสัมพันธ์ เรียกว่า "อนุสฺสวนตฺถ." အေ นิบาตบอกปริกัป เจ แปลว่า หากว่า อถ แปลว่า ถ้าว่า ยที ผิว่า อปเปวนาม ชื่อแม้ไฉน สเจ " ถ้าว่า ยนนูน กระไรหนอ ทั้ง ๖ ศัพท์นี ทางสัมพันธ์ เรียกว่า "ปริกปุปตถ."
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More