ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 115
ศัพท์เดิม
ปัจจัย
รูปสำเร็จ
แปลว่า
อิม
ชฺช
อชฺช
ในวันนี้
สมาน
ชฺชู
สชฺชุ
ในวันมีอยู่, วันนี้
ปร
ชฺชู
ปรชฺชุ
ในวันอื่น
อปร
ชฺชุ
อปรชฺชุ
ในวันอื่นอีก
เฉพาะที่ลงท้าย กึ ศัพท์ ใช้ จิ ต่อท้ายได้บ้าง
ปัจจัยในกิตก์ ๕ ตัว คือ เตว, ๆ, ตูน, ตวา, ติวาน
ทั้ง ๕ นี้สำหรับใช้ลงท้ายธาตุ เมื่อลงแล้วใช้เป็นเครื่องหมายกิริยา
ปัจจัยแผนกนี้เรียกว่า "อัพพยะ" เพราะแจกด้วยวิภัตติไม่ได้ ผู้
ศึกษาต้องการทราบความพิสดาร จึงค้นดูในแผนกกิตก์นั้นเถิด
ปัจจัยทั้ง ๕ ตัวนี้ จัดเป็นพวกอัพยยะดังกล่าวมาแล้ว บางที
เมื่อพบคำแปลของศัพท์ว่า "กาเตฺว และ กาตุ" อาจเข้าใจผิด
เพราะแปลออกสำเนียงอายตนิบาตได้คล้ายวิภัตติ อีกอย่างหนึ่ง
เพื่อความสะดวกในการใช้ศัพท์แผนกนี้ ท่านจึงบัญญัติให้ใช้กา
แทนวิภัตติปฐมาและจตุตถีได้ ปฐมาวิภัตติให้แปลอายตนิบาตว่า
"อันว่า" ทางสัมพันธ์ว่า "ตุมตุกตฺตา" จตุตถีวิภัตติว่า
"เพื่อ" ทางสัมพันธ์เรียกว่า "ตุมตฺถสมุปทาน" ดังนี้ ถึงปัจจัย
เหล่านี้จะแปลออกสำเนียงอายตบาตได้ก็จริงอยู่ ถึงดังนั้นรูปเดิม
* มูลกัจจายนะ หน้า ๑๔๒-๔๓.