อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ หน้า 55
หน้าที่ 55 / 118

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการอธิบายบาลีไวยากรณ์ โดยเน้นที่การใช้สังขยานาม 5 ประเภท รวมทั้งการอธิบายแบบจำแนก เอกวจนะและพหุวจนะตามหลักการที่ท่านได้รับการสอนในบาลีไวยากรณ์ รวมถึงการจัดลิงค์และวจนะที่เหมาะสมตามต้นฉบับ

หัวข้อประเด็น

-บาลีไวยากรณ์
-สังขยานาม
-เอกวจนะ
-พหุวจนะ
-การจัดลิงค์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 54 ตระกูลตระกูลหนึ่ง ส่วนคำว่า ปญฺจ ปุริสา บุรุษ ๕ คน ปญฺจ อิตฺถิโย หญิง ๕ คน ปญฺจ กุลาน ตระกูล ๕ ตระกูล ปญฺจสตา ภิกฺขุ ภิกษุ ๕๐๐ ปญฺจสตา อิตถิโย หญิง ๕๐๐ ปญฺจสตานิ ธนานิ ทรัพย์ ๕๐๐ เป็นต้น อันเป็นสังขยานาม ในเมื่อเข้า สมาสแล้วนำหน้านามนามอื่น เป็นคุณนามได้. การจัดลิงค์ และ วจนะ က ตั้งแต่ เอก ถึง จตุ เป็นได้ทั้ง ๓ ลิงค์ เอกศัพท์สังขยาเป็น เอกวจนะอย่างเดียว ตั้งแต่ ทวิ ถึง จตุ เป็นพหุวจนะอย่างเดียว และแจกตามแบบของตน ๆ ตามที่ท่านแจกไว้แล้วในบาลีไวยากรณ์ ตั้งแต่ ปญฺจ ถึง อฏฐารส จัดเป็น ๓ ลิงค์ แจกอย่าง ปญฺจ เหมือนกันทั้ง ๓ ลิงค์ เป็นพหุวจนะอย่างเดียว အ ตั้งแต่ เอกูนวีสติ ถึง อฏธนวุฒิ เป็นเอกวจนะอย่างเดียว และเป็นอิตถีลิงค์ แจกตามแบบอิตถีลิงค์อื่น ก็คงอยู่อย่าง เดิมไม่เปลี่ยนไปตาม นามนามที่เป็นเจ้าของสังขยานี้ ต้องเป็น พหุวจนะอย่างเดียว. ตั้งแต่ เอกูนสติ เป็นต้นไป เป็นได้ทั้ง ๒ วจนะ และเป็นได้ ๒ ลิงค์ คือ น. และ อิต. คือ ตั้งแต่ เอกูนสติ ไป เป็น น. โกฏิ เป็นอิตถีลิงค์ ที่เป็นได้ ๒ วจนะนั้น คือ ถ้าปรากฏว่า ร้อย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More