บาลีไวยากรณ์: นามและอัพยยศัพท์ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ หน้า 39
หน้าที่ 39 / 118

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการอธิบายไวยากรณ์ภาษาบาลี โดยเน้นไปที่การแปลงศัพท์ในรูปแบบเอกและพหุ โดยใช้ตัวอย่างของคำที่แสดงถึงการทำหน้าที่ต่างๆ เช่น ผู้ทำ ผู้ขุด ผู้ให้ และอื่นๆ พร้อมอธิบายความสำคัญของคำในความหมายทางศาสนา. ศัพท์เหล่านี้เชื่อมโยงกับความหมายในทางศาสนาของพระพุทธเจ้า.

หัวข้อประเด็น

-บาลีไวยากรณ์
-การแปลงศัพท์
-เอกวจนะและพหุวจนะ
-ความหมายทางศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เอก. ฉ. สตฺถุ สตฺถุโน ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 38 (แปลง เหมือน จ. เอก.) ส. สตฺถ เอา อุ การันต์ เป็น อาร รัสสะ อา เป็น อร แปลง สฺมึ เป็น พหุ. สตฺถาราน์ (แปลงเหมือน จ. พหุ.) สตฺถาเรา เอา อุ การันต์เป็น อาร เอา อะ เป็น เอ คง สุ ไว้ อิ อา. สตฺถา เอา อุ การันต์ กับ สตฺถาโร (แปลงเหมือน ป. พหุ.) สิ เป็น อา ๑. กตฺตุ ผู้ทำ ศัพท์เหล่านี้แจกเหมือน สตฺถุ ศัพท์ ๖. เนตุ ผู้นำไป ๒. ขตฺตุ ผู้ขุด บ ๓. ฌาตุ ผู้ร ๔. ทาตุ ผู้ให้ ๓. ภตฺตุ ผู้เลี้ยง, ผัว ๔. วตฺตุ ผู้กล่าว ๔. โสตุ ผู้ฟัง ๕. นตฺตุ หลาน ข้อควรจำใน สตฺถุ ๑๐. หนฺตุ ผู้ฆ่า ศัพท์ ๑. ศัพท์นามกิตก์ ซึ่งประกอบด้วย ตุ ปัจจัย ใช้แจกจาม สตฺถุ ๒. สตฺถุ ศัพท์ ถ้าเป็น เอกวจนะ เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า เท่านั้น ถ้าเป็น พหุวจนะ ต้องเป็นชื่อของพาหิรคณาจารย์ เช่น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More