อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ หน้า 44
หน้าที่ 44 / 118

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาอธิบายเกี่ยวกับวิธีการเปลี่ยนรูปคำในบาลี รวมถึงการใช้การันต์และวิธีการเขียนคำในประโยคต่างๆ โดยเน้นที่การแตกต่างระหว่างเอกพจน์และพหูพจน์ เช่น มาตราและอาร การใช้สุ และวิธีเขียนที่เหมาะสมเมื่อเปรียบเทียบกับภาษาไทยได้อย่างชัดเจน บทเรียนนี้มีตัวอย่างและการอธิบายที่ง่ายต่อการทำความเข้าใจ

หัวข้อประเด็น

-การเปลี่ยนรูปคำในบาลี
-การใช้การันต์
-การเขียนประโยคในบาลี
-เอกพจน์และพหูพจน์
-คำศัพท์และความหมายในบาลี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๑ - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 43 ต. พหุ.) มาตรานิ, มาตูน (แปลงเหมือน เอก. พหุ. ปญฺ. มาตรา เอา อุ การันต์ เป็น มาตาหิ, มาตราภิ อาร อาเทส เป็น อร มาตุหิ, มาตูภิ (แปลงเหมือน เอา สุมา เป็น อา ฉ. มาตุ, มาตุยา แปลง เหมือน จ. เอก. ส. มาตริ เอา อุ การันต์ เป็น มาตรา อาร อาเทส เป็น อร แล้วเอา สฺมึ เป็น อิ อา. มาตา (แปลงเหมือน ป. เอก.) ธีตุ (ธิดา) แจกเหมือน มาตุ จ. พหุ.) เอา อุ การันต์ เป็น อาร อาเทส เป็น อร สุ อยู่หลัง ทีฆะ อะ เป็น อา แล้ว คง สุ ไว้ มาตูฐ สุ อยู่หลัง ทีฆะ อุ เป็น แล้ คง สุ ไว้ มาตโร (แปลงเหมือน ป. พหุ.) วิธีเปลี่ยนวิภัตติและการันต์เหมือน ปิตุ ต่างแต่แจกตามแบบ ที่เป็นปุ๊ลิงค์และอิตถีลิงค์เท่านั้น ในคำพูดและวิธีเขียนหนังสือก็ไม่ใช้ อาลปนะตามแบบนี้ ใช้ อมุม แทน เอก. อมฺม หพุ. อมฺมา ใช้ได้ ทั่วไปทั้งมารดาทั้งธิดา เหมือนภาษาของเราโดยนัยที่ได้อธิบายมาแล้ว
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More