อธิบายบาลีไวยากรณ์: นามและอัพยยศัพท์ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ หน้า 110
หน้าที่ 110 / 118

สรุปเนื้อหา

หนังสือเล่มนี้มีการอธิบายบาลีไวยากรณ์ที่ละเอียด ดังเช่นการสื่อความหมายของนิบาตและจักแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างคำต่างๆ เช่น 'โข' และ 'หนอ' รวมถึงการแปลคำต่างๆ อีกมากมาย เช่น 'อญฺญทตฺถุ' หมายถึง 'โดยแท้' หรือ 'อโถ' ที่แปลว่า 'อนึ่ง' เป็นต้น ผู้สนใจศึกษาสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากหนังสือวากยสัมพันธ์เพื่อความเข้าใจที่ลึกซึ้ง

หัวข้อประเด็น

- อธิบายบาลีไวยากรณ์
- นามและอัพยยศัพท์
- นิบาตในบาลี
- การใช้คำต่างๆ ในบาลี
- ความสัมพันธ์ระหว่างคำในภาษาบาลี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 108 บ่งเนื้อความต่าง ๆ จะกล่าวไว้ในที่นี้จักเป็นการฟั่นเฟือนัก ผู้ ต้องการทราบให้ละเอียด จึงตรวจดูในเล่มวากยสัมพันธ์ ก็จักเข้าใจ ได้ดี. นิบาตสักว่าเป็นเครื่องทำบทให้เต็ม โข แปลว่า แล นุ แปลว่า หนอ " สิ วต หเว สุ เว โว เว้ย โว้ย ทั้ง ๒ ศัพท์นี้ ทางสัมพันธ์ เรียกว่า "ปทปูรณ" บ้าง ය "วจนาลงการ" บ้าง " วจนสิลิฏฐก" บ้าง นิบาตมีเนื้อความต่าง ๆ อญฺญทตฺถุ แปลว่า โดยแท้ อโถ อนึ่ง อทธา อวสฺส์ อโห อารา อาวี นีจิ นูน " แน่แท้ อิติ หนอ เว้ย แปลว่า เพราะเหตุนั้น, ว่าดังนี้, ด้วย- ประการฉะนี้, ชื่อ " อุจจ กิญฺจาปิ กุวจิ มิจฉา " " สูง แม้น้อยหนึ่ง บ้าง " โอ " ไกล " แจ้ง ผิด ต่ำ มุธา เปล่า " แน่ TE มุสา เท็จ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More