การวิเคราะห์บาลีไวยากรณ์: นามและอัพยยศัพท์ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ หน้า 92
หน้าที่ 92 / 118

สรุปเนื้อหา

บทความนี้อธิบายถึงการใช้คำว่า 'เอก' ในบริบทต่าง ๆ ของบาลี โดยเฉพาะการแปลและการแจกวิภัตติคำ โดยเน้นการทำความเข้าใจความหมายในแง่มุมต่าง ๆ เช่น 'คนหนึ่ง' หรือ 'พวกหนึ่ง' และวิธีการใช้คำถามที่มีความเฉพาะเจาะจงในบางกรณี จากการศึกษาเหล่านี้ จะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจและใช้บาลีได้ถูกต้องมากขึ้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์และเรียนรู้คำในภาษาบาลีและวิธีใช้คำศัพท์ต่าง ๆ อย่างมีระบบและถูกต้อง

หัวข้อประเด็น

- การใช้เอกในคำแปล
- การแจกวิภัตติในปุ๊ลิงค์
- การใช้ตัวอย่างในธรรมชาติของนาม
- ความแตกต่างระหว่างเอกสัพพนามและสังขยา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 90 จึงต้องแปล เอก สมย์ ว่า สมัยหนึ่ง ถ้า เอก ศัพท์นี้ประกอบ เข้ากับคำว่า คน หรือ พวก ก็แปลว่า คนหนึ่ง หรือ พวกหนึ่ง ซึ่งผิดกันกับ เอก ที่เป็นสังขยา โดยมาก จะต้องแปลว่า หนึ่งคน หรือ หนึ่งพวก เป็นต้น, เอกสัพพนาม นี้ เป็นได้ทั้งสองวจนะ เพราะมีความหมายต่างกัน ดังกล่าวแล้ว กิ ศัพท์นี้ สำหรับใช้เป็นคำถาม แม้จะเป็นอนิยมวิเสสนสัพพนาม ด้วยกันก็จริง แต่มีวิธีใช้พิสดารหลายอย่าง ซึ่งต่างจากศัพท์อื่นๆ ในประเภทเดียวกัน พึงสังเกตในหัวข้อต่อไปนี้ :- ๑. การแจกวิภัตติ ก ศัพท์ ในปุ๊ลิงค์ท่านให้แปลง กึ เป็น ก แล้วแจกตามแบบ ย ศัพท์ ดังนี้ :- ป. ทุ เอก. โก ກໍ ปุ๊ลิงค์ พหุ. เก เก ต. เกน เกหิ จ. กสฺส เกส เกสานํ ปญฺ. กสฺมา กมหา เกหิ ฉ. กสฺส เกส เกสานํ ส. กสฺมึ กมฺหิ เกสุ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More