อธิบายบาลีไวยากรณ์: นามและอัพยยศัพท์ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ หน้า 37
หน้าที่ 37 / 118

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการวิเคราะห์ไวยากรณ์บาลี โดยเฉพาะประมวลการจัดการรูปแบบของนาม และการใช้ศัพท์ในคำอธิบาย พร้อมตัวอย่างการแปลงคำ เพื่อเข้าใจการใช้ในประโยคอย่างถูกต้อง. การศึกษาไวยากรณ์เหล่านี้สำคัญต่อการเรียนรู้ภาษาบาลี และการนำไปใช้ในพระไตรปิฎก. สำหรับผู้ที่สนใจในศัพท์บาลีและการวิเคราะห์ไวยากรณ์ การทำความเข้าใจหลักการดังกล่าวจะช่วยให้การศึกษาง่ายขึ้น.

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์นามบาลี
-การใช้ศัพท์ในไวยากรณ์
-การแปลงคำในบาลี
-การศึกษาไวยากรณ์บาลี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 36 เอก. ปญฺ ภวตา เอา นฺต กับ สมา เป็น ตา โภตา เอา นุต กับ สมา เป็น ตา แล้วแปลง พหุ. ภวนฺเตหิ, ภวนฺเต (แปลง เหมือน ต. พหุ.) ภว เป็น โภ ฉ. ภวโต, โภโต (แปลงเหมือน จ. เอก.) ส. ภวนฺเต เอาสฺมึ กับ อะ เป็น เอ อา. โภ แปลง ภวนต เป็น โภ แล้ว ลบ สิ อาลปนะ เสีย ภวติ, ภวนฺตานํ (แปลงเหมือน จ. พหุ.) ภวนฺเตสุ เอา อะ เป็น เอ คง สุ ไว้ ภวนฺต, ภวนฺโต (แปลงเหมือน ป. พหุ.) โภนฺตา เอา โย เป็น อา แล้ว โภนโต เอา โย เป็น โอ แล้วแปลง ภว เป็น โภ. ศัพท์ที่มี อนุต เป็นที่สุด บางวิภัตติจะแจกเหมือน อ การันต์ ในปุ๋. นปุ๊. ก็ได้ เพราะเป็นการง่ายจึงไม่ได้แสดงไว้ในที่นี้, ศัพท์ กิริยากิตก์ประกอบด้วย อนุต ปัจจัย แจกเหมือน ภวนฺต ก็ได้ เช่น กริ แปลว่า กระทำอยู่, หรือจะเอาไปแจกตาม อ การันต์ใน ปุ๊. ก็ได้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More