การศึกษาบาลีไวยากรณ์ในนามและอัพยยศัพท์ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ หน้า 34
หน้าที่ 34 / 118

สรุปเนื้อหา

บทความนี้อธิบายเกี่ยวกับการใช้คำบาลีในรูปแบบนามและอัพยยศัพท์ โดยเฉพาะการใช้ศัพท์ต่าง ๆ เช่น 'ภควนฺตา', 'ภฺูมิ', 'คุณวนฺตุ' และวิธีใช้งานภายในไวยากรณ์ รวมถึงการจำแนกประเภทของลิงค์ เช่น ปุ๊ลิงค์ และอิตถีลิงค์ในบริบทของพระพุทธเจ้า ซึ่งให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ศัพท์อย่างถูกต้องและเหมาะสม สำหรับผู้ที่สนใจศึกษาภาษาและวรรณกรรมบาลี.

หัวข้อประเด็น

-การใช้คำบาลีในนาม
-หลักไวยากรณ์บาลี
-ประเภทของลิงค์ในบาลี
-ตัวอย่างการใช้ศัพท์ในบริบทต่าง ๆ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๓. ปญฺญวนๆ ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 33 คนมีปัญญา คนมีบุญ 6. พันธุมนฺตุ คนมีพวกพ้อง 4. ปุญญวนๆ ภควนต ล ๑๐. สติมันตุ คนมีสติ คำว่า ภควนฺตา ภควนฺเต ภควนฺโต นั้น มีวิธีใช้ไม่เหมือน กัน ภควนฺตา ภควนฺเต ใช้เป็นทวิวจนะ สำหรับกล่าวถึงคน ๒ คน ภควนฺโต ใช้เป็นพหุวจนะ สำหรับกล่าวถึงคนมากตั้งแต่ ๓ ขึ้นไป ศัพท์นี้ท่านใช้เฉพาะแต่ปุ๊ลิงค์อย่างเดียว ไม่ใช้ในอิตถีลิงค์ และนปุ๊สกลิงค์, ตามรูปศัพท์ก็น่าจะเป็นคุณนาม แจกได้ทั้ง ๓ ลิงค์ ที่ไม่เป็นเช่นนั้น ก็เพราะ ภควนฺตุ ศัพท์นี้ ใช้เป็นบทแสดงพระ เกียรติคุณของพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็นลิงค์อย่างเดียว จึงไม่ใช่ทั่วไป ในลิงค์อื่นซึ่งเป็นการลักลั่น ท่านจึงจัดเป็นบทนามนาม สำหรับ เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า ที่ใช้เป็นบทแสดงลักษณะของผู้อื่น มีน้อย. ศัพท์อื่นนอกจากนี้ มี คุณวนฺตุ ศัพท์เป็นต้น จัดเป็นคุณนาม แท้ แจกได้ทั้ง ๓ ลิงค์ เฉพาะปุ๋ลิงค์แจกเหมือน ภควนฺตุ ส่วน ลิงค์อื่นจะยก คุณวนฺตุ เป็นตัวอย่าง อิตถีลิงค์ลง อี ปัจจัย เป็น เครื่องหมาย เป็น คุณวนฺตี เสร็จแล้วนำไปแจกอย่างเดียวกับ อี การันต์ (นารี) ในอิตถีลิงค์ทุก ๆ วิภัตติ ส่วนปัสกลิงค์มีแปลก อยู่บ้างก็คือ ป. เอก. เป็น คุณว์ คุณวนฺติ อา. เอก เป็น คุณว, ป.ท อา. พหุ. เป็น คุณวนฺตานิ นอกนั้นแจกเหมือน ภควนฺตุ ทั้งสิ้น ที่เป็น คุณวํ เพราะเอา นุตุ กับ สิ เป็น อ. คุณวนต์ เพราะเอา นุตุ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More