อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ หน้า 46
หน้าที่ 46 / 118

สรุปเนื้อหา

บทที่ 45 ของการศึกษาบาลีไวยากรณ์จะพิจารณาถึงศัพท์ที่เป็นนปุสกลิงค์ โดยอธิบายว่าในการแจกวิภัตติของคำว่า 'มน' นั้น มีหลายรูปแบบ เช่น เอก, ท., ต. และจ. ซึ่งแสดงให้เห็นรูปแบบต่าง ๆ ในการจัดข้อความ วิธีการแจกวิภัตติบางครั้งไม่เป็นไปตามแบบมโนคณะ และมีการแสดงอุทาหรณ์เพื่อให้เข้าใจมากขึ้น

หัวข้อประเด็น

-การแจกวิภัตติ
-ศัพท์นปุสกลิงค์
-อุทาหรณ์ในบาลี
-วิภัตติแบบมโนคณะ
-การแปลความหมาย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 45 มน ศัพท์ที่เป็น นปุสกลิงค์ แจกอย่างนี้ :- เอก. ป. มน ท. มน เหมือน อ การันต์ในนปุสกลิงค์ ต. มนสา จ. มนโส ปญฺ. มนสา ๕ วิภัตติ แปลกจาก อ การันต์ ใน ฉ. มนโส ส. มมส นปุสกลิงค์ มนศัพท์บางคราวไม่ได้แจกวิภัตติตามแบบมโนคณะก็มี ดังเช่น ใน อาทิตตปริยายสูตรว่า มนสฺมฺปิ นิพฺพินฺทๆ นี้แสดงให้เห็นว่า ลง สฺมึ วิภัตติที่มนศัพท์เฉย ๆ โดยไม่ต้องลง ส อาคม และเปลี่ยน สฺมึ เป็น อิ ตามแบบมโนคณะ ส่วนศัพท์อื่น ในพวกมโนคณะนี้ มี อย (เหล็ก) เป็นต้นนั้น เป็นปุ๊ลิงค์ทั้งสิ้น และมีวิธีแจกวิภัตติเหมือน มน ศัพท์ในปุ๋ลิงค์ นอกจากจากจะเปลี่ยนแปลงในตติยาวิภัตติ จนถึงสัตตมีวิภัตติดัง กล่าวแล้ว บางคราวก็เอา อิ ทุติยาวิภัตติเป็น โอ ได้บ่าง เช่นคำว่า อทาเน กุรุเต มโน (แปลว่า) ชโน อันว่าชน กุรุเต ย่อมทำ มโน ซึ่งใจ อทาเน ในความไม่ให้ ยโส ลทฺธา น มชฺเชยฺย (แปลว่า) ชโน อันว่าชน ลทฺธา ได้แล้ว ยโส ซึ่งยศ น มชฺเชยฺย ไม่พึงเมา. โดยอุทาหรณ์ทั้งสองนี้แสดงให้เห็นว่า ศัพท์มโนคณะ เมื่อลง ๑. แปลตามนัยอรรถชาดก เล่ม ๔ หน้า ๓๓๖
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More