อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ หน้า 96
หน้าที่ 96 / 118

สรุปเนื้อหา

บทความนี้ทำการอธิบายบาลีไวยากรณ์ในเรื่องของนามและอัพยยศัพท์ โดยให้ความเข้าใจในการใช้คำและกฎการสนธิ ในเอกและพหุวจนะ และการแปลคำที่ใช้ในบริบทต่าง ๆ รวมถึงศาสตร์การตั้งคำถามในภาษาบาลี อาทิเช่น การใช้ 'ปุจฉันตุกนิบาต' ที่ไร้ความนิยมทั่วไปในคำถาม เพื่อให้เกิดความเข้าใจได้ถ่องแท้ในศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับบาลี ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการศึกษาของตนเองหรือผู้อื่นได้

หัวข้อประเด็น

- นามและอัพยยศัพท์
- การแปลบาลี
- กฎการสนธิ
- เอกและพหุวจนะ
- การตั้งคำถามในบาลี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยคด - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 94 นปุสกลิงค์ เอก. พหุ. ป. ยงฺกิญฺจิ ยานิ กานิจิ ทุ ยงฺกิญฺจิ ยานิ กานิจิ ต. เยน เกนจิ เยหิ เกหิจิ จ. ยสฺส กสฺสจิ เยส์ เกสญฺจิ, เยสาน เกสานญฺจิ ปญ. ยสฺมา กสฺมาจิ เยส เกหิจิ ฉ. ยสฺส กสฺสจิ เยส์ เกสญฺจิ, เยสาน เกสานจิ ส. ยสฺมึ กสฺมิญจิ เยสุ เกสุจิ ที่มี ณ อยู่หน้า จิ นั้น เอานิคคหิตเป็น ณ ด้วยอำนาจ จ อยู่ ข้างหลัง ตามวิธีสนธิข้อ ๓๒ ในอักขรวิธี ส่วนการแปลก็ต่างจากที่กล่าวมาแล้ว คือใน ปุ๋. กับ อิต. เอกวจนะ ให้แปลว่า "คนใดคนหนึ่ง, แห่งใดแห่งหนึ่ง, อย่างใด อย่างหนึ่ง." ง." พหุวจนะ ให้แปลว่า "พวกใดพวกหนึ่ง, เหล่าใดเหล่า หนึ่ง " ใน นปุ๊. ให้แปลว่า "อันใดอันหนึ่ง." จงสังเกตทำความเข้าใจตามอุทาหรณ์ในแบบนาม ข้อ ๘๗. ๖. กึ ศัพท์ไม่ได้เป็นอนิยมวิเสสนสัพพนามแต่อย่างเดียว เป็น นิบาตบอกความถาม เรียกว่า ปุจฉันตุกนิบาต ก็มีเหมือนกัน แปลว่า "หรือ" ถ้าเป็นคำถามถึงเหตุ แปลว่า "ทำไม" ก็ได้ ดังอุทาหรณ์ในแบบนาม ข้อ ๘๗.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More