ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยคด - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 85
เอว เวทหิ เจ้าจงว่าอย่างนี้ เอว์ แปลว่า อย่างนี้ เป็นศัพท์
นิบาต ประกอบเข้ากับ กิริยา คือ วเทหิ ซึ่งแปลว่า เจ้าจงว่า
ปุนปฺปุนํ กโรถ พวกท่านจงทำบ่อย ๆ ปุนปฺปุนํ แปลว่า
บ่อยๆ เป็นศัพท์นิบาต ประกอบเข้ากับกิริยา คือ กโรถ ซึ่งแปล
ว่า จงทํา.
นิบาตที่เป็นกิริยาวิเสสนะ จะต้องอยู่หน้ากิริยาเสมอไป
นามนาม กับ วิเสสนะ
ตัวประธานของวิเสสนนั้น ได้แก่ศัพท์ที่เป็น นามนาม และ
ปุริสสัพพนาม ซึ่งได้กล่าวมาแล้วในตอนต้น เวลาแปลต้องออกชื่อ
อายตนิบาตของวิภัตตินั้น ๆ ด้วย ส่วนตัววิเสสนะ เวลาแปลไม่ต้อง
ออกชื่ออายตนิบาตของวิภัตติ เพราะได้ออกชื่อที่บทนามนามแล้ว และ
บทนามนามกับวิเสสนะนั้นเล่า ก็มีลิงค์ วจนะ วิภัตติ ตรงกัน ดัง
ตัวอย่างต่อไปนี้ :-
สา อาวุโส เทวี ปริปทุกคพฺภา อตฺตโน นิวาสนฏฐานภูติ
က
๒
๔
៨
ය
เทวทห์ คนตุกามา ฯลฯ แปลว่า ดูก่อนผู้มีอายุ อันว่าพระนางเทวี
๖
๕
๒
พระองค์นั้น มีพระครรภ์แก่ ใคร่เพื่อจะเสด็จไป สู่กรุงเทวทหะ
๔
เป็นที่เคยประทับ ของพระองค์
๕
๖
ක
៨
๑. อุภัยพากยปริวัฒน์ ภาค ๒ ข้อ ๕๕๕.