อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ หน้า 36
หน้าที่ 36 / 118

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาอธิบายการใช้บาลีไวยากรณ์ในส่วนของนามและอัพยยศัพท์โดยอธิบายถึงการใช้ปัจจัยในการเปลี่ยนแปลงแบบต่างๆของคำและแนวทางการแจกเสียง เช่น ศัพท์คุณนามที่มีการแจกอย่างไร คำที่เกี่ยวกับนามในรูปแบบต่างๆ เช่น กมฺมนฺต และ ภวนฺต พร้อมตัวอย่างการแปลงตามสถานะของคำและการใช้งานจริงในบริบทต่างๆ สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-ไวยากรณ์บาลี
-นามและอัพยยศัพท์
-การแจกเสียง
-ศัพท์คุณนาม
-ตัวอย่างการใช้คำ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 35 ลง อี ปัจจัย เป็นเครื่องหมายที่ท้ายศัพท์ เป็น อรหนูตี แจกอย่าง อี การันต์ (นารี) ในอิตถีลิงคั่ง อรหา เอา นุต กับ สิ เป็น อา อรห์ เอา นุต กับ สิ เป็น อ. ศัพท์ที่มี นุต เป็นที่สุด ซึ่งเป็นศัพท์ คุณนาม เช่น | มหนฺต จะนำมาแจกตามแบบนี้ก็ได้ แต่ไม่ทั่วไป ทุกวิภัตติ. ถ้าเป็นศัพท์นามนาม เช่น กมฺมนฺต จะนำมาแจกตาม แบบนี้ไม่ได้เลย ภวนฺต (ผู้เจริญ) เป็นทวิลิงค์ ในลิงค์แจกอย่างนี้ :- เอก. ป. ภวํ เอา นุต กับ สิ เป็น ทุ. ภวนฺติ คง อี๋ ไว้ ต. ภวตา เอา นุต กับ นา เป็น พหุ. ภวนฺตา เอา โย เป็น อา ภวนฺโต เอา โย เป็น โอ ภวนฺเต เอา อะ กับ โย เป็น เอ ภวนฺโต เอา อะ กับ โย เป็น โอ ภวนฺเตภิ เอา อะ เป็น เอ ตา หิ ไว้ โภตา เอา นุต กับ นา เป็น ตา แล้วแปลง ภว เป็น โภ ภวนฺเต เอา นุต กับ นํ เป็นติ แปลง หิ เป็น ภิ จ. ภวโต เอา นุต กับ ส เป็น โต ภวต ภวโต เอา นุต กับ ส เป็น โต แล้วเอา ภว เป็น โภ เอา นุต กับ นํ เป็น ตำ ภวนฺตานํ นํ อยู่หลัง ทีฆะ อะ เป็น อา คง นำ ไว้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More