ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - อธิบายลายวรรค นามกิตติ และกริยากิตติ - หน้าที่ 2
คำว่าคดีนี้มีลูกเดิมมาจาก กิริยา ธาตุ ในความเรียบ รายงาน, กระจาย
กัตรูป กัตตุสาระ วิภาคว่า กิตปจอเฉน กิริติ กิตโก (ศัพท์ใด)
ย้อนเรียรายด้วยปัจจัยกิณ เหตุนันน์ (ศัพท์นั้น) ซึ่งอธิ์
ศพที่บทจอจับปรุงแต่งเป็นนามศพทธิ
ศพที่ต่าง ๆ ที่ปัจจัยในกิตติปรุงให้สำเร็จรูปเป็นนามศพธ์แล้ว
นามศพนั้น ๆ ย่อมมีความหมาย แตกต่างกันออกไปตามปัจจัยที่
ประกอบนั้น ๆ ไม่ต้องกล่าวถึงศพที่ประกอบด้วยปัจจัยต่าง ๆ กัน
ย่อมมีความหมายผิดแปลกแตกต่างกันออกไป แม้ศพที่เดียวกัน และ
ประกอบปัจจัยตัวเดียวกันนั้นเอง ย่อมความหมายแตกต่างออกไป
ได้หลายอย่าง แล้วแต่ความมุ่งหมายของปัจจัยที่ประกอบเข้ากับศพท์
จะให้ความหมายว่ากระไรบ้าง ในส่วนรูปที่เป็นนามศพท์ ดังที่ท่าน
ยกศพว่า ทาน จันมาป็นอุตรณ์ในแบบนั้น ศพ นี้บูลเดิมมาจาก
ทา ธาตุ ในความให้ ลง ยุ ปัจจัย แล้วแปลง ยุ เป็น อน ได้รูปเป็น
ทาน ถ้าจะให้เป็นรูปศัพท์เดิม ต้องลง ส ปฏิฐานวิตด นุปลดลิงค์
ได้รับ ทาน ศพนี้แหละอาจเปปลได้ถึง ๔ นี่ คือ :-
๑. ถ้าเป็นชื่อของสิ่งของที่จะพึงสะเป็นต้นว่า ข้าว น้ำ เงิน ทอง
ก็ต้องแปลเป็นรูปรามะนะว่า " วัตถุอันพึงให้" แยกฐปลออก
ตั้งวิเคราะห์ว่า ทาทพูนุณดี ทาน.[ เฉลยว่า สังเดา เตน อนเขา] พึงให้
เหตุนั้น ตั ว ฑูติ สังเดา ทาน [ อนพึงให้ ชนสนกล่าวว่า
ทานวัตถุ สิ่งของอันเนงพิงให้
2. ถ้าเป็นชื่ของการให้ คือเพ่งถึงกิริยาอาการของผู้ให้ แสดง