ประโคม - บาลไวยากรณ์ นามกิิดิ และกริยกิิดิ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามกิตก์ และกิริยากิตก์ หน้า 52
หน้าที่ 52 / 121

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้มีการอธิบายบาลไวยากรณ์เกี่ยวกับการใช้คำในนามกิิดิ และกริยกิิดิ พร้อมตัวอย่างที่ช่วยให้เห็นภาพชัดเจน เช่น การใช้บทหน้าและการแปลงรูปของคำต่างๆ ในภาษาไทย โดยมีตัวยกตัวอย่างที่ช่วยให้เข้าใจยิ่งขึ้น เช่น การใช้คำว่า สนฺจิอโย, นยน, และ ปรุ เพื่อแสดงถึงการใช้ในบริบทที่ต่างกัน โดยเฉพาะในหน้าที่ของผู้ที่มีบทบาทเป็นผู้นำทางและการชนะในข้อความต่างๆ.

หัวข้อประเด็น

-บาลไวยากรณ์
-นามกิิดิ
-กริยกิิดิ
-การใช้คำในภาษาไทย
-ตัวอย่างการแปลงรูปคำ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโคม - อธิบายบาลไวยากรณ์ นามกิิดิ และกริยกิิดิ - หน้าที่ 51 ก. มีบทหน้าแต่งใช้คำมม เช่น อนุโลลุปจร เป็น อนุโลลุป (กลางหาว) บทหน้า จร ธาตุ อ ปัจจัย วี.ว่า อนุโลกเข อธิ-ดี อนุวักขอโร. (นกใด) ย่อมเที่ยวไป ในกลางหาว เหตุนี้น (นกนี้) ชื่อว่า ผู้นำไปในกลางหาว เป็นก็ตรูป กัตตสานะ. ข. ไม่มีบทมม เช่น นโย เป็น นี้ ธาตุ อ ปัจจัย พุทธธีอ ที่ นี้ เป็น อ แล้วเอาเป็น อว ว.ว่า นยน นโย. การนำไปชื่อว่า นีย, หรือ ชาย เป็น ช ธาตุ อ ปัจจัย พุทธธี อ ที่ ชื่อเป็น เอล แล้ว เอาเป็น อว ว.ว่า ชยน ชโย. ความชนะ ชื่อว่า ชนะ. ณ นี้ เป็น ภาวรูปวาสานะ. หรือเช่น ลุกฺขา ที่ท่าน เอก อ.ไว้ในแบบนั้น. ค. มีอุปสรค่านหน้าเช่น สนฺจิอโย เป็น สำ-นี้บทหน้า ธ. ว่า ในความสังสม พุทธธีอ ที่ ชิเป็น เอล แล้วเอาเป็น อว ว. ว่า สนฺจิยน สนฺจิอโย. การสังสม ชื่อว่า สนฺจิยะ. หรือเช่น ปฏิสมภิกา ในแบบ. ๙. เฉพาะ ทุก ธาตุซึ่งมี ปรุ เป็นบทหน้า ให้แปลง อ แห่ง ปรุ เป็น อิ. เช่น อ.ว่า ปรุมไร เป็น ปรุ (ในก่อน) บท หน้า ทุก ธาตุ ลง อปัจจัย แปลง อ แห่ง ปรุ เป็น อิ เพราะมี ท อยู่เบื้องหลัง จึงแปลเป็นนิดติดเป็น น ว.ว่า ปรุ (ทาน) ทาทธี-ดี ปรุนฺโณ. (ทว่าสักกะโด) ย่อมให้ (ซึ่งทาน) ในกาลก่อน เหตุนี้น (ทว่าสักกะนั่น) ชื่อว่า ผูให้ทานในกาลก่อน.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More