ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - อธิบายบาลีไวทย์) นามคติ คำกริยิกิต - หน้า 88
ใกล้แล้ว ถวายบังคมแล้ว ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้านั่งแล้ว ณ ส่วน
บ้างหนึ่ง อุปปงฺกมฺ เป็นกริยศัพท์ในประโยคกัน แปลว่า เข้าไป
ใกล้แล้ว. ในประโยคหลังจึงใช้กริยศัพท์ว่า อุปปงฺกมิตฺวา อันแปลว่า
ครันเข้าไปใกล้แล้ว [ ถ้าคำนี้ว่า อุปปงฺกมํ ต่างแต่ปิ๋จัยเท่านั้น]
ซึ่งแสดงว่าพอเข้าไปแล้วเสร็จ.
ในกริยกิตนี้ แม่ไม่มีอนาคตกาลจริงๆ แต่สำหรับบอกความ
จำเป็น ก็มีเหมือนอนายตาย ได้แก่ศัพท์ที่ประกอบด้วย อนิจฺ ฉฺพุ
ปัจจัย ที่ให้แปลว่า "พิง" เช่น กรณีย อัน...พิงกํ, คนุตพุพฺ
อัน...พิงไป เช่น อุ. ว่า กดิ กรณีย ก็ที่พิงทำ อน...ทำ
แล้ว อุโสโสโลก สงฺม อนุมานตฺภาพ. อโบสถ อนสงฺม
พึงอนุมัติ ดังนี้.
กิริยศัพท์ที่บอกความจำเป็นนี้ แม้นท่านไม่กล่าวว่าเป็นกาล
ประเภทใดก็ตาม ก็แสดงว่า เมื่อพึงดูแล้ว ก็เห็นคล้ายกับอนาคตลา
เพราะแสดงถึงจินต์นั้น ว่าว่าทำ เป็นเชิงบ่งบอกกาย ๆ. อน่าสอ
ให้รู้ว่า ก็ยัง ๆ ไม่ได้.
ธาตุ
ธาตุ คือศัพท์ที่เป็นมุราหะของกิริยา เพราะในกริยากิตนี้ใช้
ธาตุอย่างเดียวกับธีอะขาดนั่นเอง ต่างแต่รูปศัพท์เท่านั้น คือ
กิริยาวาจาขาดมีวิภัตติแผนหนึ่งต่างหาก ส่วนกิริยากิตฺ ให้วิภัตติตาม
มีตัวอย่างเทียบเรียงกันดังนี้:-