การอธิบายไวยากรณ์นามกิริยาและกริยากิริยา อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามกิตก์ และกิริยากิตก์ หน้า 11
หน้าที่ 11 / 121

สรุปเนื้อหา

บทนี้เกี่ยวข้องกับไวยากรณ์นามกิริยาและกริยากิริยา โดยอธิบายถึงรูปสาระต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกัตตาในภาษาไทย สาระที่ท่านแบ่งเป็น ๗ ประเภท ได้แก่ กัตตสาระ คัมมสาระ ภาวสาระ กรณสาระ สัมไทนาสาระ อปทานสาระ และอธิรณสาระ ซึ่งให้ความสำคัญกับการระบุและจำแนกชนิดของกริยาและความหมายของสาระของคำในบริบท

หัวข้อประเด็น

-การอธิบายไวยากรณ์
-กัตตสาระ
-คัมมสาระ
-ประเภทของสาระ
-ความหมายของคำในบริบท

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายบทไวยากรณ์ นามกิริยา และกริยากิริยา - หน้าที่ 10 ส่งใหทราบว่ารูปที่สำเร็จไปจากคำนี้ ต้องเป็นอธิบายสนะ เพราะสาระนี้ ท่านบัญญัติให้ใช้ว่า “อดตต” ในเวลดังรูปรายะ ส่วนกิริยาที่อยู่ข้างหน้านั้นแสดงถึงงู่ ในนี้ คุณอนุต เป็นกัตวา จึงต้องเป็นกัตตรูป จะนังรวมความว่า คติ เป็นกัตตรูป อธิรณ- สารนะ. สารนะนั้นท่านแบ่งไว้ ๗ อย่าง คือ :- ๑. กัตตสาระ ๒. คัมมสาระ ๓. ภาวสาระ ๔. กรณสาระ ๕. สัมไทนาสาระ ๖. อปทานสาระ ๗. อธิรณสาระ และในสาระเหล่านี้ ท่านยังจัดรูปรายะไว้ประจำคือ ๓ คือ :- กัตตรูป คัมมรูป ภาวรูป กัตตสาระ สาระนี้เป็นชื่อของผู้หา คือผู้ประกอบริยนัน ไ่ดแก่ผู้ใจะเป็น ผู้หา ก็เป็นชื่อของผู้นั้น กล่าวอย่างง่ายคือเป็นชื่อของคนหรือตัวสัตว์ เช่น อ.วา คุฏกภร (ผู้ชั่งหม้อ). ทายก (ผู้ให้), โอวาทโก ทำก(ผู้กล่าวสอน), สาโก (ผู้พูง), เหล่านี้เป็นกัตตสาระทั้งนั้น เพราะ ล้วนเป็นชื่อของผู้หา คือต้องมี ชน หรือ บุคคลเป็นต้นเป็นเจ้าของผู้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More