ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - อธิบายบาลีไววกานต์ นามกิตติ และกิริยากิตติ - หน้า ที่ 93
ภาวาวาจก
กิริยาสังกัพท์คำแต่สักว่า ความมมี ความเป็น ไม่กล่าวถึง
ก็ตต คือ ผู้หา และ กรรม คือ ผู้ทำ กล่าวผู้นั้นแหกแสดง
แต่เพียงอาการเท่านั้น กิรสัมพัทธ์นี้ เรียกว่า ภาวาวาจก เช่น
ในอุทาหรณ์ว่า การณเมตตรด ภวิฑูฟ ข้อว่า อันเหตุ ในสิ่งนี้
พึงมี.
อธิบายว่า คำว่า อันเหตุ ในคํานั้น ก็เป็นแต่เพียงกล่าวว่าสิ่งนั้น
ลอย ๆ เท่านั้น คำว่า พึงมี ก็ไม่รับรองว่าจะได้ จะเป็นจริง
ทีเดียว กิรสัมพัทธ์ ไม่กล่าวกัดดั่งกิรสัมพัทธ์ กิริยา
อาจายต์ เช่น กิรัติ กล่าวกตติ คือความที่เป็นปฐมบูรณ์ กิริยา
กล่าวมัชฌิมบูรณ์ กิริยา กล่าวอุตตมบูรณ์ แต่กิราวาวาจก แม้
ไม่กล่าวก็ตตา ก็ใช้บัดดิวากิตติเป็นกิรสัมพัทธ์ เรียกว่า อนกัด
- กิรตา เช่น การเนาน ใน อู. นี้.
ปัจจัยในวากกินี้ได้เฉพาะจำพวกกิจจาปัจจัยและกิติจจาปัจจัย
กิจจาปัจจัยนั้น คือ อนีย และ ตุปฟู ปัจจัย สำหรับ ตุปฟู ปัจจัย
ถ้าชาด 2 ตัว เมื่อไม่มูลที่สุดๆ ต้องลงอิอามา เช่น ภาวิคูพัท,
ภวิฑูฟพัท, ถ้าดูบ 2 ตัว เมื่อไม่มูลอะไร จะลงในคตุตัวใด ก็ลงได้
ทีเดียว เช่น บาทนีย โภชนีย เป็นต้น.
ธาตุที่จะใช้ในวากกนี้ ใช้อัมมชาดูโดยมาก ใช้ลักษมชาตุกมี