ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - อภิบาลฉไลเวชน์ นามิกัด และกริยากัด - หน้ที่ 87
ถ้าเป็นปัจจุบันแท้ ก็ให้แปลว่า "อยู่" อย่าง คุณโฉด
ภาสมาน กล่าวอยู่ ถ้าเป็นปัจจุบันใกล้อนาคต ก็ให้แปลว่า
"เมื่อ" อย่าง กรองโฉม กรียมโน เมื่ออะไรทำ นี่อ่อน....กระทำ
เป็นต้น.
อดีตกาลนั้น แม่ออกเป็น 2 อย่างเหมือนกัน คือ ล่วงแล้ว ๑
ล่วงแล้วเสร็จ ๑
๑. คำว่า ล่วงแล้ว นั้น หมายความว่า ล่วงไปแล้วไม่มี
กำหนด บับแต่วันนี้จนถึงล่วงแล้วหลาย ๆ ปี ก็ได้ เพราะไม่มี
กำหนด อย่าง อุ. ว่า โย มาส อติฏุกนุตา แปลว่า เดือน ท.
สาม ล่วงไปแล้ว อายุอาสติ ล้วจรดตรตตสตาภิญา เทว
ล้วจรรสถุลา อติฏุกนุตา แปลว่า ๒๔๕๕ ยิ่งล่วงไปแล้วเป็นต้น
นี่แสดงให้เห็นว่า ล่วงไปแล้ว ไม่มีคำกำหนด คือจะล่วงไปเท่าไร ๆ
ก็ใช้ได้ไม่จำกัด ซึ่งมีคำแสดงกาลในการแปลว่า "แล้ว."
๒. คำว่า ล่วงแล้วเสร็จ นั้น หมายความว่า ล่วงในขณะที่า
เสร็จ พูดเสร็จ ซึ่งอยู่ในระยะใกล้ ๆ กับกิริยาที่ทำก่อนนั่นเอง จึงมี
คำแสดงกาล ให้แปลว่า "ครั้น-แล้ว" ข้อนี้โดยมากใช้กรย
ศัพท์ซ้ำกันกับคำในประโยคต้น [และประกอบด้วย คุณนา ปีอย่าง
เดียว] อย่าง ก็ ว่า ยน ภาว ตนปสุภกิ ยูปลภูมิวา อปลภูมิวิวา
ภาวติ อภวาเทวา เอกมณฑป นิสิก. (ภิกษุรูปหนึ่ง) พระผู้มี
พระภาคเจ้า เสด็จอยู่โดยที่ใด เข้าไปใกล้แล้ว โดยที่นั้น. ครั่นเข้าไป