อธิบายบาลไวยากรณ์ นามคํิดดี และกริยาคํิดดี อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามกิตก์ และกิริยากิตก์ หน้า 53
หน้าที่ 53 / 121

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เสนอการศึกษาเกี่ยวกับบาลไวยากรณ์ในเชิงลึก โดยเน้นที่นามและกริยา คำอธิบายเกี่ยวกับปัจจัยและธาตุต่าง ๆ ที่ใช้ในภาษาบาลี พร้อมตัวอย่างการประยุกต์ในข้อความ รวมทั้งการแจกนามซึ่งสามารถแบ่งแยกได้ตามชนิดและตำแหน่งในประโยค อธิบายถึงบทบาทและความสำคัญของคำต่างๆ ในการสื่อสาร รวมถึงการใช้ศัพทที่เกี่ยวข้องอย่างถูกต้องและเหมาะสม

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาเกี่ยวกับบาลไวยากรณ์
-นามและกริยา
-ปัจจัยในภาษาบาลี
-ธาตุในภาษาบาลี
-การใช้คำในประโยค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายบาลไวยากรณ์ นามคํิดดี และกริยาคํิดดี - หน้าที่ 52 ศัพท์ที่ประกอบด้วยปัจจัจจี้ เมื่อสำเร็จรูปแล้ว เป็นนามนามบาง คุณนามบาง และเป็นได้ทุกสานะ ที่เป็นคุณนาม แจกได้ทั้ง 3 ลิงค์ ปูเลงด์ แจกตามแบบ อ การันต์ (ปรีส), อติสิงห์ แจกตามแบบ อ การันต์ (กุลบ), นปูเลงด์ แจกตามแบบ อ การันต์ (กุล) อี ปัจจัย ปัจจันี้ เมื่อประกอบกับฐานแล้ว ย่อมคง อิ ไว้ไม่ลบ และไม่มีเปลี่ยนแปลงฐานอยู่อย่างไร ทั้งไม่มีการนิยมบทหน้า ด้วย ฉะนั้น จึงไม่มีหลักอะไรกะพึ่งอธิบายมาก แต่ในมูลฎอจานท์ท่านกล่าวว่าคงได้เฉพาะธาตู 2 ตัว คือ ทา และ ธาตุเท่านั้น แต่ไม่แน่นัก เพราะในฐานอื่นก็มีมาก เช่น นุนิ, มูน, ธู, นุนทิ เป็น นุนทิ ธาตุ ลง อี ปัจจัย ว่า นุนที้ นุนที ความเพลิดเพลินชื่อว่า นุนท. มูน เป็น มูน ธาตุ ลง อีปัจจัย ว่า มูนูติ-ติ มูน. (ชนใจ) ย่อมรู้เหตุนนั้น (ชน้น) ชื่อว่า ผู้รู้ รุจิ เป็น รุจ ธาตุ ในความรู้เรื่อง-ชอบใจ ลง อี ปัจจัย ว่า รุจิ เป็น รุจ ธาตุ ในความรู้เรื่อง-ชอบใจ ชนนี้ เป็นต้น. ศัพท์ที่ประกอบด้วยปัจจัจจี้ เมื่อสำเร็จรูปแล้ว เป็นได้ทั้งนามนาม และ คุณนาม และทุกรูป ทุกสานะแล้วแต่จะเหมาะ ที่เป็นคุณนาม แจกได้ทั้ง 3 ลิงค์ ปูเลงด์ แจกตามแบบ อ การันต์ (มูน),
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More