ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - อธิบายบาลีไวรากณ์ นามกิิด และกิริยากิิด - หน้า 77
ที่สูตจชาติวิ ว่า ทฏฐุพุพน-ติ ทฏฐุยีย (รูปได) (เทน อันเขา)
พิ้งเห็น เหตุนัน (รูปนัน) ชื่อว่า อันเขาพิ้งเห็น.
ข. ธาตุมีอ. เป็นที่สุด แปลวัต ถ เป็น ทร ฑ อ.ลุภยย เป็น
ลภ ฑ ฑ ในความได้ สาม ย ปัจจัย แปลก ฑ เป็น ทร แล้วลบทสุด
ธาตุ วิ. ว่า ลิฏฐพุน-ติ ลิฏฐุยีย (สิงใจ) (เทน อันเขา)
พิ้งได้ เหตุนัน (สิงนัน) ชื่อว่า อันเขาพิ้งได้ 2 นี้ เป็นกมมรูป
กับมาสนะ.
ข. ตุก ปัจจัย
ปัจจัยนี้ เท่าราปฤกษ์ เหน่น ลงได้เฉพาะ คม ฑ จ มี อา เป็น
บทหน้าตัวเดียวเท่านั้น เช่น อ. ว่า อนุฏก เป็น อบทหน้า
คม ฑ ในความไป ลง ตุก ปัจจัย แปลก มี่สุดราณ เป็น นิ. ว่า
อาคุณติ-ติ อาคุณโก (กิยฺดา) ย่อมมาเหตุนัน (กิยฺนนัน)
ชื่อว่า ผู้มา. เป็นกัตตูป กัตตุสาณะ.
ฎ. ม ปัจจัย
ปัจจัยนี้ ใช้ลงได้ทุกธาตุและทุกสาณะ มีได้อัด เช่น อ. ว่า
ทุโม. เป็น ทร ฑา ในความเจริญ ลง ม ปัจจัย วิ. ว่า ทรติ-ติ
ทุโม. (ต้นไมได) ย่อมเจริญ เหตุนัน (ต้นไม้นัน) ชื่อว่า ผู้เจริญ.
* สพหนนี้นในบทฉบับอ่านท่านกล่าวว่า เอา ณ แห่ง ฑ ฑ เป็น รกฎ ณ สที่สุดราณ และร. แห่ง ฑ ฑ เสีย พร้อมกัน อื่น ที่ คำ อ. ที่ที้ว้. แต่ที่แสดงไว้นั้น เห็นออุโลมตามหลักของ
ง ปัจจัยในกิริยาก็ได้ และเป็นการง่ายที่จะจำ เพราะมีหลักอยู่แล้ว จึงแสดงไว้เช่นนั้น.