ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - อธิบายบทไหว้ครู นามกิตติ และกิริยากิตติ - หน้า 11
ทำกำกับอยู่ด้วย เวลาที่ขาดเสียมิได้ เช่น ภูมิโภรณ์ เวลายก ตั้งวิเคราะห์ก็จะต้องตั้งว่า ภูมิโภรณ์ กร ไมดี-ดี กุมภาภโร แปลว่า (โย โชน ชน ใด) ช่อทำ ซึ่งหมายเหตุ เหตุนี้ (โซ ชน นั้น) ชื่อว่า กุมภาภโร (ผู้นำซึ่งหม้อ) สำหรับกิริยานะเวลาที่วิเคราะห์จึงจะต้องเป็นกิริยาจากสมอ วิธีแปลกิริยาสนะ ท่านให้แปลได้ 2 นัย คือ "ผู้-" ถ้าในอรรถคือคำสละ แปลว่า "ผู้...โดยปกติ" กว่า "ตัสสะ" ในที่นี้ หมายความว่า สิ่งที่บอกทำเป็นปกติ คือบุคคลที่ส่งใดเป็นปกติ สถานนะนี้ก็คือการทำที่เป็นปกติของบุคคลนั้นด้วย เช่น อ. ว่า ธมมจารี (ผู้ประกอบฐิวี่งธรรมโดยปกติ) เวลาตั้งวิเคราะห์จะต้องเติมคำว่า "สีลาน" เข้ามาด้วยว่า ธมม จรติ สีลาน-ดี ธมมจารี แปลว่า (โย ชน ชนใด) ย่อมประพฤติ ซึ่งธรรม โดยปกติ เหตุนี้ (โสนั้น) ชื่อว่า ธมมจารี (ผู้ประกอบฐิวยงธรรมโดยปกติ) อีกอย่างหนึ่ง ในสาระนี้ท่านเพิ่มเติม สมาสรุป ตัสสลาสาระ เข้ามืออีก ทีเรียกเช่นนั้น ก็เพราะสาระนี้กล่าวถึงความทำเป็นปกติ ของบุคคล เวลาตั้งวิเคราะห์จะต้องปฏิรานห์กลัยสมา เวลาปลาท่านให้แปลว่า "ผู้-" เช่น อ. ธมมจารี นั้น ถ้าตั้งวิเคราะห์เป็น สมาสรุป ตัสสลาสาระ ก็ต้องตั้งว่า ธมม จริ สลาส-ติ (สีอ-สุก-อิติ) ธมมาจารี การปฏิบัติ ซึ่งธรรม เป็นปกติ ของชนนัน เหตุนี้ (ชนนัน) ชื่อว่า ธมมาจารี (ผู้ประกอบฐิคงธรรมดิ์เป็นปกติ) ก็ยาก ในรูปนี้ ต้องประกอบด้วย ๆ ๆ ปัจจัยเสมอ