อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามกิตติ และกริยากิตติ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามกิตก์ และกิริยากิตก์ หน้า 73
หน้าที่ 73 / 121

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้อธิบายถึงไวยากรณ์บาลีในส่วนของนามกิตติและกริยากิตติ โดยเริ่มจากการวิเคราะห์ธาตุสำเร็จรูปและการจัดประเภทนาม นอกจากการอธิบายถึงความเป็นนามนามและคุณนาม ยังได้ยกตัวอย่างการเปลี่ยนรูปของคำในทั้งหมด 3 ลิงค์ ซึ่งประกอบไปด้วยอาการนต์และการแปลความหมายในระดับต่าง ๆ รวมถึงการกล่าวถึงประโยคประเภทย่อย ๆ ที่เกี่ยวข้องกับนามแต่ละประเภท เช่น อุปิลงค์ และอิติลิงค์ พร้อมยกตัวอย่างในแต่ละกรณี เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจวิธีการใช้งาน ปุพพฉะและเจตนาได้อย่างถูกต้อง.

หัวข้อประเด็น

- นามกิตติ
- กริยากิตติ
- ธาตุสำเร็จรูป
- นามนาม
- คุณนาม
- อุปิลงค์
- อิติลิงค์
- วิกิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามกิตติ และกริยากิตติ - หน้าที่ 72 ปัจจุบัน เมื่อลงในธาตุสำเร็จรูปแล้ว เป็นได้ทั้งนามนามและคุณนาม ภารูป ภาวะสันนะ เป็นนามนาม. นอกจากนั้นเป็นคุณนามที่เป็นคุณนามแปลได้ทั้ง 3 ลิงค์ ในปลีงค์ แกะเหมือน อาการนต์ (กฎอ) อนิสิลังค์ แกะเหมือน อาการนต์ (กฎอ). อันนี้ ปัจจัย ยังมีอำนาจบังคับนามศัพท์ ซึ่งเป็นอุฏฐิวิโวติ สำหรับ ให้ปล่อยนามของอุดิวิชชิตว่า (ซึ่ง) ได้ อ. สุขพาเปลสุข อกรณี การไม่ทำ ซึ่งบ้างปังทั้งปวง เป็นต้น. ปัจจัยในแบบเหล่านี้ เมื่อประกอบกับธาตุสำเร็จรูปแล้ว ที่เป็นคุณนาม ย่อมแกได้ทั้ง 3 ลิงค์ และเปลี่ยนรูปไปตามวิกิจของนาม เสมอ ส่วนที่เป็นนามนาม ย่อมค้างอยู่ คือเป็นลิงค์ใด ก็จะเป็นลิงค์นั้น ไม่เปลี่ยนไป บางศัพท์มยอมเป็นอุปิลงค์ เมื่อเป็นอุปิลงค์แล้วจะเป็นลิงค์อื่นไม่ได้ เช่น โกโส (ความโกโส) โทโส (ความประทุษร้าย) เป็นต้น. บางศัพท์ก็นิยมเป็นอิติลิงค์ เช่น เจตนา (ความตั้งใจ), ปุพพฉะ (การบวช), อูนัง (ความปรารถนา) เป็นต้น. บางศัพท์ก็นิยมเป็น นูปิงค์ เช่น กรณี (ความทำ) วจน์ (คำเป็นเครื่องกล่าว), สวน (การฟัง) เป็นต้น. เมื่อจำการเป็นอวิกิตอะไร ก็จงนำไปแจกลตามลิงค์และการันต์นั้น ๆ เกิด.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More