ธรรมเทคนิค: แนวทางแห่งพระธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนา คัมภีร์ปฏิรูปมนุษย์ เล่ม 1  หน้า 6
หน้าที่ 6 / 280

สรุปเนื้อหา

ธรรมเทคนิคเป็นแนวทางที่เต็มไปด้วยหลักคำสอนในพระพุทธศาสนา ที่เน้นให้แต่ละบุคคลฝึกฝนตนเองเพื่อหลุดพ้นจากอำนาจแห่งกิเลส ก่อนที่จะนำไปเผยแพร่เพื่อสร้างสันติสุขในสังคม โดยสาระสำคัญของการปฏิบัติสายกลาง คือการกระทำสิ่งต่างๆ อย่างพอดีและมีความถูกต้องตามพระธรรม เช่น การมีสัมมาทิฐิ ความคิดและการกระทำที่ถูกต้องรวมถึงการทำงานอย่างมีสมาธิ สำคัญคือการดำเนินชีวิตอย่างมีความสมดุลและเข้าใจในองค์ ๘ ที่เป็นหลักปฏิบัติที่หลากหลาย ช่วยให้เกิดจิตใจแห่งความสงบและเข้าใจสัจธรรมการดำรงอยู่ในโลกนี้

หัวข้อประเด็น

- ธรรมเทคนิค
- พระธรรม
- สายกลาง
- การปฏิบัติ
- พระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมเทคนบแมบทแห่งพระธรรมคำสอนทั้งปวงในพระพุทธศาสนา เป็นพระธรรมเทคนบที่สมบูรณ์ที่สุดที่ศาสดาทุกองค์ในโลกไม่ว่าจจะเป็นผู้นำของลัทธิสาสนาใด จะเป็นนักบวชหรือไม่ ควรจะยึดถือเป็นแมบทในการอบรม ฝึกฝนตนเอง เพื่อยกใจตนให้พ้นจากอำนาจกิเลสได้เองเสียก่อน จากนั้นจึงนำไปเผยแพร่เพื่อสร้างสันติสุขแก่ชนโลกสัมไป สาระสำคัญอันดับแรกของธัมมจัดกับปฐมสูตรก็ คือข้อปฏิบัติสายกลาง หรือชมมาปฏิบทา ข้อปฏิบัติสายกลางตามความเข้าใจของผู้นโดยทั่วๆ ไปก็ คือ การกระทำสิ่งต่างๆ อย่างมีความพอดี ได้แก่ไม่นานเกินไปหรือไม่น้อยเกินไป เช่น การรับประทานอาหาร ถ้ามากเกินไป อาหารก็ไม่อร่อย ทำให้รู้สึกกระสับกระสาย แต่ถ้ารับประทานน้อยเกินไปก็จะทำให้รู้สึกหัวโหมไม่มีสมาธิในการทำงาน เป็นต้น การปฏิบัติอย่างถูกต้องในการรับประทานอาหาร ก็ คือ ต้องรับประทานแต่เพียงพอดี พออิ่ม แต่จริงๆ แล้วข้อปฏิบัติสายกลางในทางธรรมนันหมายความหมายที่ห่างไกลกับความเข้าใจของผู้นดังกล่าวแล้วมากทีเดียว คือ หมายถึงข้อปฏิบัติ ซึ่งประกอบด้วย องค์ ๘ ได้แก่ สัมมาทิฐิ - ความเห็นถูก สัมมาสังกัปปะ - คิดถูก สัมมาวาจา - พูดถูก สัมมากัมมันตะ - ทำถูก สัมมาอาชีวะ - ประกอบอาชีพถูก สัมมาวายามะ - เพียรถูก สัมมาสติ - ระลึกถูก สัมมาสมาธิ - ตั้งใจถูก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More