คุณสมบัติของมารดาในพระพุทธศาสนา คัมภีร์ปฏิรูปมนุษย์ เล่ม 1  หน้า 111
หน้าที่ 111 / 280

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอความสำคัญของคุณสมบัติที่มารดาควรมีตามลัทธิพระพุทธศาสนา โดยมุ่งเน้นที่การพัฒนาสัมมาทิฏฐิและภีรโอัตัตปะ เพื่อให้สามารถอบรมบุตรให้เป็นคนดีได้ การที่มารดาจะเป็นตัวอย่างที่ดีแก่บุตรนั้น จำเป็นต้องพัฒนาตนเองผ่านการศึกษาและปฏิบัติธรรมอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังกล่าวถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นหากมารดาขาดคุณสมบัติที่จำเป็นในการเลี้ยงดูบุตร ซึ่งอาจนำไปสู่ปัญหาความไม่เข้าใจและความโกรธเคืองต่อกัน.

หัวข้อประเด็น

- คุณสมบัติของมารดา
- สัมมาทิฏฐิ
- การอบรมบุตร
- การศึกษาและปฏิบัติธรรม
- ผลกระทบจากการขาดคุณสมบัติ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระภาวนาวรวิริยคุณ (ทัตติวิโรภฺฏฺ) เพราะฉะนั้น สติที่คิดจะเป็นมารดา จำเป็นจะต้อง พิจารณาคุณภาพของบุรุษที่ตนคิดจะร่วมหลงโลภด้วยอย่าง รอบคอบ เพื่อโอกาสแห่งการได้รับตร ที่มีคุณภาพดี เพื่อจะได้ อบรมสั่งสอนให้เป็นคนดีได้ง่าย สิ่งที่เกี่ยวข้องกับพระคุณข้อที่ ๓ มารดาต้องเป็นสัมมา ทิฏฐิ บุคคลที่จัดว่ามีจิตใจเป็นมนุษย์ ตามนัยแห่งพระพุทธ ศาสนา ก็ คือ บุคคลที่ตั้งมั่นอยู่ในสัมมาทิฏฐิ มีสิริโอត្តับปะ คืออายในการทำบาป และกลัววิบัติของการทำบาป การที่ บุคคลจะมีคุณสมบัติเช่นนี้ได้ ก็คือการศึกษาและการปฏิบัติ ธรรมอยู่เป็นนิจก ดังนั้น ผู้ที่คิดจะเป็นมารดา จำเป็นจะต้องพัฒนาสมมา ทิฏฐิ และภีรโอัตัตปะ ขึ้นมาในตนให้เกิดเป็นนิสัย ด้วยการ ศึกษาและปฏิบัติธรรมอย่างสม่ำเสมอ ก็จะสามารถเป็นต้นแบบ จิตใจที่เป็นมนุษย์ให้แก่บุตรได้ บรรดามารดาที่สร้างความโกรธเคืองให้แก่บุตร จนบุตร นิกลถึงพระคุณไม่ออก ก็ล้วนแต่เป็นผู้ที่บกพร่องในเรื่องสัมมาทิฏฐิ และภีรโอัตัตปะอย่างมากนั่นเอง สิ่งที่เกี่ยวข้องกับพระคุณข้อที่ ๔ มารดาต้องเตรียมตัว ให้พร้อมก่อนทำหน้าที่มารดา หมายความว่า การที่มารดาจะ สามารถทำหน้าที่เป็นบพกรีของบุตรได้อย่างสมบูรณ์แบบ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More