การแยกแยะกรรมดีและกรรมชั่ว คัมภีร์ปฏิรูปมนุษย์ เล่ม 1  หน้า 73
หน้าที่ 73 / 280

สรุปเนื้อหา

พระภาวนาวิริยคุณ (ทัตตชีวา ภิกขุ) อธิบายถึงการแยกกรรมดีและกรรมชั่ว โดยเน้นที่จิตใจที่เป็นกุศลและอกุศล ผลของกรรมดีมักนำมาซึ่งความสุข ในขณะที่กรรมชั่วนำมาซึ่งทุกข์และโทษ บุคคลที่มีความเห็นถูกต้อง (สัมมาทิฏฐิ) สามารถรับรู้ผลของกรรมได้อย่างแท้จริง ในขณะที่บุคคลที่ถูกกิเลสหลอกลวง อาจแยกแยะไม่ได้ว่ากรรมไหนคือกรรมดีหรือกรรมชั่ว นอกจากนี้ยังพูดถึงความสำคัญของธรรมและการพัฒนาตนเองเพื่อประพฤติดีตามหลักธรรม

หัวข้อประเด็น

-การแยกกรรมดีกรรมชั่ว
-จิตใจที่ดีและไม่ดี
-สัมมาทิฏฐิ
-บทบาทของธรรมในการดำเนินชีวิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระภาวนาวิริยคุณ (ทัตตชีวา ภิกขุ) สัมผัสญาณ สามารถแยกระหว่างกรรมดี กับกรรมชั่วออกจากกันได้อย่างถูกต้อง สามารถตรวจอย่างลึกซึ้งได้ด้วยเหตุผลว่า เหตุแห่งการทำกรรมนี้ เริ่มต้นด้วยใจที่เป็นกุศล อนุได้แก่ อโห Synthesizer การ/ อโมะ ดังนั้นผลปลายทางที่จะเกิดขึ้น ย่อมเป็นผลดี และให้ความสุขอย่างแน่นอน ส่วนเหตุแห่งการทำกรรมชั่วนั้น เริ่มต้นด้วยใจที่เป็นอกุศล อนได้แก่ โทสะ โมหะ ดังนั้นผลปลายทางที่จะเกิดขึ้น ย่อมมีทุกข์และโทษอย่างแน่นอน ใจคนประเภทนี้สามารถรู้เท่าทันว่า ผลของกรรมดีหรือกรรมชั่วที่เกิดขึ้นแล้วนั้น เป็นธรรมโดยธรรมชาติที่ควรจะเป็น ไม่ใช่เรื่องฝืนธรรมชาติแต่ประการใด สภาพใ ith่ละละเอียด สามารถพิจารณาไตร่ตรองวิกาแห่งกรรมดีและกรรมชั่วของบุคคลได้อย่างถูกต้อง ยอมทำให้เป็นบุคคลที่ถือธรรมเป็นใหญ่ รับผิดชอบธรรมะด้วยการพยายามเคียวเชิญตนเองและผู้อื่นให้ประพฤติดีธรรม มีจิตใจปราศจากอดีตใดๆ ทั้งสิ้น บุคคลที่สภาพใจของเขาก่อนจะ “อุบกขา จิต” เช่นนี้ ชื่อว่ามีความเห็นถูกเป็น “สัมมาทิฏฐิ” ในทางกลับกัน บุคคลที่มีจิตใจผิดมิดด้วยอำนาจกิเลส ย่อมแยกไม่ออกระหว่างกรรมดี กับกรรมชั่ว เพราะใจมือคติ แม่ตนเองหรือพรรคพวกของตนก็การกรรมชั่ว ก็ยังคิดเข้าข้างว่าเป็นกรรมดี เขาจึงทำกรรมชั่วอยู่เป็นนิจ โดยไม่สนใจหรือไม่เชื่อ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More