ความสำราญภายในใจและการเห็นด้วยทิพย์จัญญุ คัมภีร์ปฏิรูปมนุษย์ เล่ม 1  หน้า 137
หน้าที่ 137 / 280

สรุปเนื้อหา

พระภาวนาวิริญคุณ (ทัตติไว ภิกขุ) เน้นความสำคัญของความสำราญภายในใจที่ช่วยให้เราเห็นความไม่แน่นอนของโลกและการพัฒนาศีล รวมถึงการมีความอายต่อบาปและกลัวต่อความชั่ว การเห็นด้วยตาของทิพย์จัญญุจะนำมาซึ่งการเลือกทำความดีและการมีจิตใจที่สะอาด นอกจากนี้ การปฏิบัติศีล สมาธิ และปัญญาจะพาชีวิตไปสู่ความสงบสุขที่สูงยิ่งขึ้น ความสำราญนี้จะเกิดขึ้นเมื่อใจพัฒนาจนหยุดนิ่ง และเปิดเผยความจริงของโลก. สามารถทำให้เห็นอนาคตและความเป็นจริงที่ลึกซึ้งยิ่งกว่าที่เราคาดไว้.

หัวข้อประเด็น

-ความสำราญภายใน
-การเห็นด้วยทิพย์จัญญุ
-การพัฒนาศีล
-การปฏิบัติสมาธิ
-ความจริงของชีวิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระภาวนาวิริญคุณ (ทัตติไว ภิกขุ) ความสำราญโพลงของใจจะสามารถส่องให้เห็นความไม่แน่นอนของโลก ตลอดจนความเป็นไปของชีวิตตามความเป็นจริงได้ ลึกลงไปในระดับหนึ่ง ซึ่งตาเนื้อ (มังสังกู) มองไม่เห็น การเห็นเช่นนี้เป็นการเห็นด้วยตาของทิพย์ (ทิพยจัญญุ) อาจจัดว่าเป็นการเห็นด้วยใจดี การเห็นด้วยทิพย์จัญญุเช่นนี้ จะทำให้คนเราพัฒนาศีล โอวาทบปะ คือความอายต่อการทำความชั่วความบาปและความกลัวต่อบาปมากขึ้น ขณะเดียวกันก็เกิดปัญสาสอนตนเองให้รู้จักระวังตัวไม่ให้ทำชั่ว ให้เลือกทำแต่ความดี ใจจะสะอาดสว่างอย่างต่อเนื่องยิ่งขึ้นทั้งวันทั้งคืน ก็สังเกตไม่ได้ช่องกำริบออกฤทธิ์เลย ท่านองเดียวกับหญิงที่ถูกหินทับย่ำงอมไม่ได้ นี่คือความหมายที่ว่าบุญคลสัมฤทธิ์สบายก็เสด็จได้ ๙ เข้าใจว่าผู้ใดสะอาดอย่างสมบูรณ์ย่อมสามารถรู้แจ้งเห็นแจ้งโลกนี้โลกหน้าได้ การปฏิบัติศีล สมาธิ ปัญญา จนกระทั่งใจหยุดนิ่งสนิทอย่างลำลวย (บรรพชีมิอโอกาสปฏิบัติได้ผลมากว่าคุณสู่ เพราะไม่ต้องกังวลด้วยเรื่องการทำมากิน) ความสำราญที่กลางใจจะเกิดขึ้นอย่างถาวร ถึงขั้นอ่อนให้เห็นความเป็นไปของโลกนี้โลกหน้าได้ตรงตามเป็นจริง คือสังยิ่งกว่าตะวันเที่ยงหลายหมื่นหลายแสนเท่า ประสบ แนวคิดในการปฏิบุปมนุษย์ 137
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More