กรรมกิเลส ๔ และความรับผิดชอบของมนุษย์ คัมภีร์ปฏิรูปมนุษย์ เล่ม 1  หน้า 150
หน้าที่ 150 / 280

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงกรรมกิเลส ๔ ที่มีผลต่อพฤติกรรมและความรับผิดชอบของมนุษย์ โดยอธิบายถึงการกระทำที่มีความเสี่ยงทำให้สูญเสียความเป็นมนุษย์ เช่น การฆ่า การลักขโมย และการประพฤติผิดทางเพศ โดยย้ำว่าควรหลีกเลี่ยงกรรมอันเลวร้ายเพื่อรักษาศีลและความมีศักดิ์ศรีของตนเอง การมีความคิดเห็นที่ถูกต้องจะช่วยให้บุคคลรู้สึกผิดชอบชั่วดีและไม่ทำตามกิเลสที่ส่งผลเสียต่อชีวิต.

หัวข้อประเด็น

-กรรมกิเลส ๔
-ความรับผิดชอบ
-ศีลธรรม
-พฤติกรรมมนุษย์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

บุคคลที่มีความสำคัญรับผิดชอบประกอบที่ ๑ นี้ มีความคิดเห็นถูกกว่า การปล่อยตัวปล่อยใจให้ทำอะไรตามอำนาจของกิเลสเรียกว่ากรรมนิสสัส ๔ ไม่ว่าประการใดประการหนึ่ง หรือทั้ง ๔ ประการ ยอมมีใช้พฤติกรรมของมนุษย์ผู้ใจสูง ใครก็ตามที่ประพฤติดรรมนิสสัส ๔ ยอมหมดศักดิ์และศรีแห่งความเป็นมนุษย์ กลายเป็นมนุษย์ที่อยู่ได้อำนาจมิจฉาทิฏฐิ ซึ่งมีพฤติกรรมใกล้เคียงกับดัชฉาน เมื่อเกิดความเห็นถูกเช่นนี้ บุคคลจึงเกิดความลำ้นักรับผิดชอบในศีลในศีลและศรีแห่งความเป็นมนุษย์ของตนเอง ด้วยการไม่ยอมประพฤติดรรมนิสสัส ๔ อย่างเด็ดขาด กรรมกิเลส ๔ หมายถึงอะไร กรรมกิเลส ๔ หมายถึง การกระทำ ๔ ประการต่อไปนี้ คือ ๑) ปาณาติบาต หมายถึง การฆ่า ปลิดปลังชีวิต การประทุษร้ายกัน การเบียดเบียนกันทางวิธีการต่างๆ ฯลฯ ๒) อทินนาทาน หมายถึง การลี้อาของที่เขาไม่ได้ให้ การลักขโมย จฉฬัน คดโกง ฯลฯ ๓) กามสุขิมาจาร หมายถึง การประพฤติผิดทางเพศ การล่วงละเมิดบุคคลที่ผู้อื่นรักใคร่หวงแหน การประพฤติ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More