ความยั่งยืนแห่งคุณสมบัติของคนดี คัมภีร์ปฏิรูปมนุษย์ เล่ม 1  หน้า 203
หน้าที่ 203 / 280

สรุปเนื้อหา

บทที่ 3 ของพระภาวนาวิริยคุณ (ทัตติทธิ์ ภิกฺขุ) กล่าวถึงความสำคัญของการทำกรรมดีและการปฏิรูปมนุษย์ การมีสัมมาทิฏฐิช่วยสร้างความสุขให้กับตัวเองและสังคม โดยการทำกรรมดีจะนำไปสู่ชีวิตที่มีคุณภาพและมีความเจริญก้าวหน้า การมีปัญญาและสัมมาทิฏฐิ 10 ประการ เป็นพื้นฐานที่จำเป็นในการสร้างคนดีในสังคม

หัวข้อประเด็น

-กรรมดีและกรรมชั่ว
-สัมมาทิฏฐิ
-การปฏิรูปมนุษย์
-ความสุขในชีวิต
-คุณสมบัติของคนดี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระภาวนาวิริยคุณ (ทัตติỗi ภิกฺขุ) บทที่ 3 ความยั่งยืนแห่งคุณสมบัติของคนดี เป้าหมายของการมาเกิดเป็นมนุษย์ จากเรื่องแนวคิดในการปฏิรูปมนุษย์ ในบทที่ 1 ท่านผู้นำ ยอมทราบชัดแล้วว่า การทำกรรมดีต่างๆ จะก่อให้เกิดความสุขทั้งแก่ผู้ทำเองและแก่สังคมโดยรวม ในทางกลับกันกรรมชั่วๆ จะก่อให้เกิดความทุกข์ความเดือดร้อน ทั้งแก่ผู้ทำเองและแก่สังคมโดยรวมเช่นกัน สัมมา ทิฏฐิฉันเท่านั้นที่เลือกทำเฉพาะกรรมดี ส่วนมิจฉาทิฏฐิฉันก็จะคู่อยู่กับการทำกรรมชั่วทุกรูปแบบ เพราะฉะนั้นคนมีปัญญาปราณีตวามสุข ความเจริญก้าวหน้าในชีวิต จึงพยายามปฏิรูปตนเองให้เป็นคนดี มีสัมมา-ทิฏฐิ เข้าไปอยู่ในใจอย่างมั่นคง ให้ครบทั้ง 10 ประการตลอดไป จากสัมมา ทิฏฐิ 10 ประการนี้เอง ทำให้สัมมาทิฏฐิิ manifest วิสัยทัศน์ที่กว้างไกลออกไป จนตรึงหนักแน่นและเป็นแบบอย่างระดับสูงสุดในใจของบุคคลที่มีสติปัญญาอันสูงส่ง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More