ชีวิตหลังความตายตามพระพุทธศาสนา คัมภีร์ปฏิรูปมนุษย์ เล่ม 1  หน้า 87
หน้าที่ 87 / 280

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงชีวิตหลังความตายตามพระพุทธศาสนา โดยอธิบายว่าชีวิตในปรโลกขึ้นอยู่กับกรรมที่เราทำไว้ในอดีต แบ่งออกเป็นสองคติคือ 'ลุคติ' และ 'ทุคติ' ซึ่งลุคติหมายถึงการเกิดในที่ดีและทุคติหมายถึงการเกิดในที่มีความทุกข์ บทความยังเน้นให้เห็นว่ากรรมที่ดีนำไปสู่สวรรค์ และกรรมที่ไม่ดีอาจนำไปสู่สถานที่ที่มีความทุกข์ทรมาน เช่น นรกและอบายภูมิ

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของปรโลก
-กฎแห่งกรรม
-ลุคติและทุคติ
-ชีวิตหลังความตายในพระพุทธศาสนา
-กรรมและผลของกรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระภาวนาวิริยคุณ (ทัตติวิโส ภิกขุ) "ปรโลก" หรือ "ปรภพ" ต่อไปอีก ดังนั้นชีวิตหลังความตายจึงมืออย่างแน่นอน ชีวิตในปรโลกของคนเราจะเป็นอย่างไร จากเรื่องกฎแห่งกรรม เราได้ทราบแล้วว่า "สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิดเพราะฉะนั้นชีวิตในปรโลกของคนเราจะเป็นอย่างไร ย่อมขึ้นอยู่กับกรรมที่เราทำไว้ในชาติ ณ นั้นเอง ดังที่มีจำนวนชาวบ้านว่า "กรรมใครกรรมมัน" ซึ่งแต่ละคนคงพอจะคาดคะเนได้ว่าชีวิตหลังความตายของตนจะสุข หรือทุกข์อย่างไร ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาได้กล่าวไว้ว่า คติหรือแนวทางในปรโลกของสัตว์โลกทั้งหลาย มีอยู่ ๒ คติ คือ "ลุคติ" กับ "ทุคติ" "ลุคติ" หมายถึงสถานที่ไปเกิดหรือบรรลุการดำเนินชีวิตที่ดีงาม ได้แก่ ๑) มนุษโลก (โลกมนุษย์) ๒) เทวโลก (โลกสวรรค์) ๓) พระมโลก (โลกของพระพรหม) "ทุคติ" หมายถึงสถานที่ไปเกิด หรือแนวทางดำเนินชีวิตที่มีแต่ความทุกข์ทรมาน ได้แก่ ๑) นรก ๒) ดิรกฉาน ๓) เปรต ๔) อสุรกาย จากเรื่องกฎแห่งกรรม ย่อมกล่าวไว้ว่า ผู้ทำกรรมดีหรือส่งสมบุญไปมาก่อไปสู่สวรรค์ แต่จะเป็นสวรรค์ระดับใดน้อยย่อม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More