การให้ในพระพุทธศาสนา ทาน...ก้าวแรกแห่งการพัฒนาคุณภาพชีวิต หน้า 17
หน้าที่ 17 / 236

สรุปเนื้อหา

การให้ในพระพุทธศาสนามีหลายรูปแบบ โดยเฉพาะเจตนาทานที่หมายถึงความตั้งใจในการบริจาคทาน ทั้งก่อน ระหว่าง และหลังการให้. วิริยทานคือการให้ที่ไม่เบียดเบียนผู้อื่น หรือการให้ความปลอดภัยซึ่งเกิดจากการรักษาศีล เช่น การงดเว้นจากการฆ่าสัตว์เพื่อให้ความปลอดภัยแก่ชีวิตของสัตว์. การให้บางครั้งถูกมองว่าเป็นการหวังผลตอบแทน ซึ่งในพระพุทธศาสนาถือว่าไม่นับเป็นทานที่แท้จริง. สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมสามารถเข้าชมได้ที่ dmc.tv.

หัวข้อประเด็น

-เจตนาทาน
-วิริยทาน
-การให้ในพระพุทธศาสนา
-ความหมายของทาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เครื่องนุ่มนิ่ม ยารักษาโรค ย่านพานะ ดอกไม้ ที่นั่ง ที่นอน ที่อยู่ อาคัย และประทับโคลไฟ เป็นต้น เจตนาทาน หมายถึงความคิดความตั้งใจที่เป็นเหตุให้บริจาคทาน ทั้งก่อนให้ ขณะให้ และหลังจากให้แล้ว วิริยทาน หมายถึงการให้ โดยงดเว้นจากการเบียดเบียน รังเกียจกัน หรือหมายถึงการให้ความปลอดภัย ให้อภัย (อภัยทาน) ซึ่งก็คือการให้ที่เป็นผลจากการรักษาศิลนั้นเอง เช่น เมื่อเรารักษาศีข้อที่ ๑ งดเว้นจากการฆ่าสัตว์ ย่อมได้ชื่อว่า เป็นการให้ความปลอดภัยแก่ชีวิตของสัตว์ทั้งหลาย เป็นต้น ทาน มีความหมายหลายอย่างดังกล่าวมาแล้ว แต่ที่จะกล่าวต่อไป จะมุ่งถึงทาน (การให้) วัตถุทาน และเจตนาทาน เป็นส่วนใหญ่ ส่วนวิริยทานนั้นจะกล่าวในเรื่องศีลในหนังสือเล่มต่อไป อันึง มีการให้บางอย่างที่เราพบเห็นโดยทั่วไป คือ การให้ที่หวังผลประโยชน์ตอบแทนแก่ตน เช่น ให้ข้าวแก่สุข หวังว่า มันจะเฝ้าบ้านให้เรา ให้อาหารเลี้ยงวัว หวังจะได้น้ำมันจากมัน หรือทำผิดกฎหมาย แล้วให้สินบนแก่เจ้าหน้าที่ เพื่อให้นตพ้นผิด ฯลฯ การให้ในลักษณะเช่นนี้ในทางพระพุทธศาสนา ไม้จัดว่าเป็นทาน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More