การให้ทานอย่างรู้สึกและเคารพ ทาน...ก้าวแรกแห่งการพัฒนาคุณภาพชีวิต หน้า 100
หน้าที่ 100 / 236

สรุปเนื้อหา

ในบทความนี้มีการพูดถึงการให้ทานและความสำคัญของการมีจิตใจที่เคารพและศรัทธาเมื่อทำการให้ ไม่ว่าจะเป็นการให้ที่มีความเคารพหรือความยำเกรงต่อผู้รับ โดยเน้นไปที่ความสำคัญของการให้ด้วยตนเองแทนที่จะให้คนอื่นทำแทน การมีจิตใจที่เหมาะสมเมื่อให้จะส่งผลต่อการเกิดบุญและผลานิสงส์ที่ตามมา สำหรับผู้ที่ให้ทาน ควรมีความตั้งใจและมีใจที่เปิดกว้างต่อการให้ การทำบุญอย่างมีสติจะช่วยให้มีพลังบุญที่ยั่งยืนกว่า

หัวข้อประเด็น

-การให้ทาน
-คุณของการให้
-จิตใจที่มีความเคารพในการให้
-การให้ด้วยมือของตนเอง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ทาน...ก้าว แรกแห่ง... 100 นี่เป็นทานของอัสสุรรูป " ๑. ให้โดยไม่เคารพ บางคนเวลาจะให้ ขาดความเคารพในทาน คือไม่ตระหนักถึงคุณของการให้ สิ่งของที่ให้ ตลอดถึงผู้อื่นเราจะให้ เมื่อใจขาดความเคารพแล้ว ก็เท่ากับว่าจะจำใจให้ ให้แบบไม่เต็มใจ กิริยาอาการที่ให้ก็หยาบคายแข็งกระด้าง เช่น ให้ของแก่ผู้อื่นผู้หลักผู้ใหญ่มักแสดงกิริยาอาการเหมือนให้แก่ทาน เป็นต้น สภาพใจของผู้ให้เป็นอย่างไร ผลงานก็อาจจะได้นั้น จะไปเกิดในภาพชาติใด ก็จะเป็นคนต่ำศักดิ์ดี ถูกคนดูหมิ่น ขาดความเคารพนับถือ 2. ให้โดยไม่ยำเกรง บางคนจะให้ขาดความยำเกรง คือใจไม่เป็นกลาง ไม่ตั้งใจที่จะเอาบูชอย่างเต็มที่ เช่น เวลาจะถวายสังฆทาน เห็นพระรู้จักก็ชอบใจ พอเจอพระที่ศีลก็เสียใจ ที่ถกควรทำใจเป็นกลาง คือใจมุ่งต่อส่ง มุ่งต่อพระศาสนาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ให้โดยตั้งใจมีความยำเกรงในสงส์ จะได้ผลานิสงส์มาก 3. ไม่ให้ด้วยมือของตน บางคนอาจจะมีศรัทธา แต่เมื่อเวลาให้ กลับใช้ให้คนอื่นทำแทน เช่น ให้คนรับใช้ทำแทนบ้าง ให้คนรับใช้ตบาตรให้บ้าง ความจริงเราเกิดมาโชคดีแล้วที่มีมือ มีอวัยวะครบ เมื่อมีโอกาสควรให้ด้วยมือคน จะเกิดความศรัทธาอย่างเต็มที่ ภาพของการทำบุญจะทำให้เกิดดีในตลอดเวลา บุญที่ได้มีพลังส่งผลได้ดี ส่วนการให้ผู้อื่นทำทานแทนกัน ทำให้กาย วาจา ใจ น้อยตามไปด้วย เวลาจะนึกถึงบุญก็ไม่ออก บุญส่งผลได้ น้อย (ดังเรือง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More