อานันทเศรษฐี: บทเรียนเกี่ยวกับความตระหนี่ ทาน...ก้าวแรกแห่งการพัฒนาคุณภาพชีวิต หน้า 87
หน้าที่ 87 / 236

สรุปเนื้อหา

เรื่องราวของอานันทเศรษฐีในเมืองสาวัตถี ที่มีความร่ำรวยมากแต่ตระหนี่ ไม่ทำบุญและไม่แชร์ทรัพย์สมบัติ แม้กระทั่งกับบุตร ทำให้เขาพบกับความทุกข์ยากในชีวิต แสดงให้เห็นถึงผลกรรมของความตระหนี่ที่ไม่ให้เกิดผลดีแม้ในชีวิตหน้า.

หัวข้อประเด็น

-ความตระหนี่และการให้
-บทเรียนจากชีวิตของอานันทเศรษฐี
-ผลกรรมจากการไม่แบ่งปัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

บางทีถึงกับขัดขวางคนอื่นไม่ให้ทำอะนั้นไปเกิดในนภาพทีได้ ก็พบแต่ความลำบากยากจน ต่ำต้อย ไม่มีพวกพ้องเลย จะทำอะไรก็ลำบากมาก และไปเกิดกับกลุ่มชนที่มีความลำบากด้วยกัน มีแต่คนรังเกียจ เหมือนดังเรื่องต่อไปนี้ อานันทเศรษฐี (๑) ในสมัยพุทธกาล ที่เมืองสาวัตถี มีเศรษฐีคนหนึ่ง ชื่ออานันทะ มีสมบัติมากถึง ๘๐ โกฏิ แต่ว่าเป็นคนตระหนี่ไม่ทำบุญทั้งห้อมบุรุษหลายคนทำบุญ เขาสอนบุรุษวันละ 3 เวลา ว่า "อย่าคิดว่าทรัพย์ที่เรามืออยู่นี้มาก ควรทำทรัพย์ใหม่ให้เกิดขึ้นเป็นประจำทุกๆ วัน ไม่ควรให้ทานแก่ใครๆ เพราะทรัพย์ที่มีกายอ่อนล้าไปก็จะน้อย พึงดูอย่างหายยอดตา เมื่อหยอดทีละหยดยังหมดได้ พึงดูอย่างการอกพุ่นขึ้นของจอมปลวก ที่เพิ่มขึ้นทีละน้อย ยังเป็นจอมปลวกใหญ่ได้ ควรครองเรือนก็ควรเป็นอย่างนี้" เขาได้ฝังขุมทรัพย์ใหญ่ไว้ ๕ แห่ง แต่ด้วยความที่ตระหนี่มาก จึงไม่ยอมบอกให้ใครทราบ แม้แต่บุตรของตนชื่อ มูลสิร อานันทเศรษฐีมีชีวิตอยู่อย่างเศร้าหมอง เพราะความตระหนี่ เมื่อเขาตาย มูลสิรได้ตำแหน่งเศรษฐีต่อมา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More