การพัฒนาคุณภาพชีวิต ทาน...ก้าวแรกแห่งการพัฒนาคุณภาพชีวิต หน้า 49
หน้าที่ 49 / 236

สรุปเนื้อหา

การทำบุญส่งผลให้เกิดความสุขและความสำเร็จในชีวิต โดยในแต่ละช่วงวัยมีผลกระทบต่อกัน บุคคลที่บริสุทธิ์และมีศีลธรรมจะได้รับประโยชน์มากที่สุด การทำบุญต้องมีใจที่บริสุทธิ์และมั่นใจในศีลธรรม นอกจากนี้การบริจาคยังช่วยเสริมสร้างความมั่นคงให้กับชีวิตและส่งผลต่ออนาคตในภพชาติหน้า การพัฒนาคุณภาพชีวิตเริ่มต้นจากการทำความดีและทำบุญอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลดีในทุกช่วงวัยและสร้างชีวิตที่มีคุณค่า

หัวข้อประเด็น

-คุณภาพชีวิต
-การทำบุญ
-บุญกุศล
-ความสุข
-ศีลธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๕๙ การพัฒนาคุณภาพชีวิต ครั้นถึงเวลาให้ เห็นพระภิษุจำนวนมากมาย เกิดความเลื่อมใสขึ้น ยินดีในการให้นั้น และหลังจากให้แล้ว นิกถึงบุญที่โร ก็เกิดความ ปิติเมามานใจทุกครั้ง บุญที่ทำนี้จึงส่งผลให้เกิดในภพชาติหน้า คือ ในช่วงปฐมวัย จะมีชีวิตที่ลำบาก ต้องต่อสู้กับอุปสรรรต่างๆ มาก มาย ต่อเมื่อถึงมัธยมวัย ก็เริ่มประสบความสุข ความสำเร็จ และ ในปัจฉิมวัยมีความสุขความสบาย สามารถใช้ทรัพย์ให้เกิดประ โยชน์สุข และสร้างบุญกุศลได้อย่างเต็มที่ เป็นต้น อีกนัยหนึ่งในภพชาตินี้ ถ้าช่วงปฐมวัยเรามีความสุขดี มัชฌิมวัยก็เจริญวัยหน้าในอาชีพการงาน แต่ปัจฉิมวัยกลัพบ แต่ฐุปสรรร มีทรัพย์ก็เสียยาม ไม่กล้าทำบุญ ไม่กล้าจ่ายใช้สอย แสดงว่าในอดีตนั้น เวลาทำบุญ บุพเพเจตนา มูลฐานเจตนาดี แต่ อุปสรรคเสียไป ทำบุญแล้วใจไม่ล่องไล เสียดายทรัพย์ ดัง นี้เป็นต้น บุคคลบริสุทธิ์ หมายถึง บุคคลสองฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับทาน นั้น คือ ผู้ให้และผู้รับ ต้องเป็นคนที่บริสุทธิ์ ทายก(ผู้ให้) ต้อง เป็นผู้มีศีลธรรม ฉะนั้นก่อนถวายทาน จังมีประเด็นสมาทานศีล ก่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปฏิภาณ(ผู้รับ) ต้องมีสีลาจารวัตรงาม มีคุณธรรมสูง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าสั่งอหไวใน ยุกทุกนิยา เปตัตต ว่า ภิญญาสงฆ์ (ปฏิภาณก) เปรียบเหมือน นา ผู้ถาวร (ทายก) เปรียบเหมือน ชาวนา สิ่งของที่ถวาย เปรียบเหมือน พืช
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More