การพัฒนาคุณภาพชีวิตและบารมี 10 ประการ ทาน...ก้าวแรกแห่งการพัฒนาคุณภาพชีวิต หน้า 207
หน้าที่ 207 / 236

สรุปเนื้อหา

การพัฒนาคุณภาพชีวิตควรเริ่มจากการสร้างทานบารมีเป็นลำดับแรก ซึ่งเป็นทางอุปประเสริฐที่ทำให้พระโพธิสัตว์เจ้าในอดีต ปัจจุบัน และอนาคตประพฤติปฏิบัติเพื่อเป็นพระพุทธเจ้า บารมี 10 ประการประกอบด้วย ทาน, ศีล, เนกขัม, ปิยา, วิริยะ, ขันติ, สัจจะ, อิทธิฐาน, เมตตา, และอบุญ ทำให้ผู้ปรารถนาเป็นพระพุทธเจ้าต้องดำเนินตามคุณธรรมเหล่านี้เพื่อเข้าถึงความบรรลุผลและเป็นเลิศในชีวิต

หัวข้อประเด็น

-การพัฒนาคุณภาพชีวิต
-บารมี 10 ประการ
-ทานบารมี
-พุทธกรรมธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๒๐๙ การพัฒนาคุณภาพชีวิต ควรสร้างทานบารมีนี้ก่อน บารมีอื่นๆ" ดังมีหลักฐานแสดงไว้ใน ทุกทุกนิยาย พระกรงค์ ๙๙ ว่า วิจินโต ตา ทุกข์ ปรม ทานบารมี ปุพพเกิ มเหสี อนุจินฺ ฎญ มหาปฐ ความว่า เรา (สุเมธาจิษ ฎี เมื่อได้รับพุทธยาการณ์แล้ว) ก็ พิจารณาดู (ธรรมที่จะทำให้สำเร็จเป็นพระพุทธเจ้า) ได้เห็น ทานบารมี เป็นบารมีแรกเป็นทางอุปประเสริฐที่พระโพธิสัตว์เจ้า ทั้งหลายในอดีตประพฤติปฏิบัติกันมา พระโพธิสัตว์เจ้า ทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคตกล ทั้ง หลายมีความเห็นตรงกันว่า ถ้าแรกที่จะทำให้สร้างบารมี สร้าง ความดีเป็นพระพุทธเจ้าได้ คือ ทานบารมี และพิจารณาเห็นบารมี ต่อ ๆ มาตามลำดับ คือ ศีลบารมี เนกขัมบารมี ปิยบารมี วิริยบารมี ขันติบารมี สัจจะบารมี อิทธิฐานบารมี เมตตาบารมี และอบุญบารมี ท่านได้ทราบว่าบารมี ๑๐ นี้ เป็นคุณธรรมที่ผู้ปรารถนา เป็นพระพุทธเจ้าจะต้องปฏิบัติ เพราะฉะนั้นคุณธรรมทั้ง ๑๐ นี้ จึงเรียกว่า พุทธกรรมธรรม (ธรรมที่ทำให้เป็นพระพุทธเจ้า) และ เรียกว่า บารมี บารมี หมายถึง คุณธรรมที่ทำให้ความปรารถนาเต็ม เปี่ยมได้หรือปฏิทินที่ทำให้เข้าถึงความเต็มเปี่ยม (เป็นเลิศ) ได้ (๙) พระไตรปิฎก บาลีสาธยายเล่ม ๓๔๐ คำ ๒ หน้า ๑๔๙
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More