แนวทางการให้ทานอย่างถูกต้อง ทาน...ก้าวแรกแห่งการพัฒนาคุณภาพชีวิต หน้า 56
หน้าที่ 56 / 236

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เสนอแนวทางการให้ทานที่ถูกต้อง ซึ่งรวมถึงการปล่อยวางอารมณ์ สิ่งของที่ไม่ควรให้ และการเตรียมตัวด้วยศีลและสมาธิ เพื่อให้การให้ทานเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก้ทุกฝ่าย การตั้งจิตอธิษฐานก่อนและหลังการให้ทานทำให้บุญผลเต็มที่ เทปันวาและการรักษาความบริสุทธิ์ในใจขณะให้เป็นสิ่งสำคัญ นอกจากนี้ควรเรียนรู้ที่จะไม่ยึดติดกับสิ่งที่ให้ไป ด้วยวิธีนี้จึงจะเป็นทางที่นำไปสู่พระนิพพานได้อย่างแท้จริง โดยสามารถศึกษาหรือทำความเข้าใจเพิ่มเติมผ่าน dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-แนวทางการให้ทาน
-การเตรียมตัวก่อนให้ทาน
-การตั้งจิตอธิษฐาน
-การไม่ยึดติดหลังให้ทาน
-ผลของการทำทาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ทาน...กิ่วแน่ง... อารมณ์ของธรรม ปล่อยอารมณ์เหล่านั้นเสีย ไม่ยึดมั่นถือมั่น ไม่ให้เข้าไปเสียดแทงใจ ทำใจให้หยุดเหน่ง นี้เขาเรียกว่า ให้ธรรมามีทาน ยอมมูกศ์ใหญ่ เป็นทางไปแห่งพระนิพพานโดยแท้ และเป็นทางอันยิ่งใหญ่ทางปรมัตถ์ " สิ่งของที่ไม่ควรให้ทาน ได้แก่ สุรยาเสพติด มหสรพี่ ทำให้ประมาณมัวเมา สัตว์เพื่อการผสมพันธุ์ ภาพหรือสิ่งของที่ ยุ่วยามารมณ์ และอาจเพื่อการทำมิจฉาชีพ ๓. ทำตนเองให้บริสุทธิ์ก่อนที่จะให้ทาน ด้วยการสมาทานศีล ๕ หรือศีล ๘ แล้วนั่งสมาธิกลั่นใจให้ใสสะอาดบริสุทธิ์ นึกถึงปฏิทาคห (ผู้รับ) เช่นเดียวกับท่านเป็นพระอรหันต์ หรือเป็นตัวแทนของสงฆ์ผู้ทรงไว้ซึ่งพระศาสนาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ๔. ตั้งจิตอธิษฐาน ด้วยการกาทานนั้น “จบ” เหนือศีรษะว่า "ขอให้ทานของข้าพเจ้านี้เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่ตนเองและผู้อื่น....จะเริ่มต้นด้วยให้ความสงบสมบูรณ์สุข หรือด้วยอะไรก็ตามแต่ลงท้ายให้เป็น....นิพพานปัจจโย โหตุ (จงเป็นปัจจัยเพื่อพระนิพพาน) ดังนี้บัติตั้งหลายในการก่อนจอบอธิษฐานก่อนให้ทานว่า “......ขอให้บุญดวงแก้ว ขอให้แกล้วงาม ขอให้พระนิพพานในอนาคตภาคเทอญ” จะทำใจของเราใสสะอาดเต็มที่ในขณะที่ให้ ๕. เมื่อทานเสร็จแล้ว ให้สะทานขาดออกจากใจไม่คิดเสียดายทรัพย์เลย ให้ดีเบิกบานใจทุกครั้งที่นึกถึงที่ทำแล้ว บุญจากการทำทานนั่นก็จะส่งผลเต็มที่ทันที เมื่อบุญเกิดขึ้นแล้ว
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More