การพัฒนาคุณภาพชีวิตผ่านการให้ ทาน...ก้าวแรกแห่งการพัฒนาคุณภาพชีวิต หน้า 53
หน้าที่ 53 / 236

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงการทำทานเป็นวิธีหนึ่งในการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยแบ่งปันทรัพย์สินและความดีให้กับผู้อื่น ผู้รับและผู้ให้มีความสำคัญในการส่งเสริมผลบุญ การให้ที่เป็นทักษิณาจึงควรมีความบริสุทธิ์ทั้งในเจตนาและในสภาพของวัตถุ การปฏิบัติตามคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเกี่ยวกับการสร้างความดีจะช่วยส่งเสริมจิตใจและให้กำลังใจแก่ผู้คนในสังคม การให้ที่บริสุทธิ์จะก่อให้เกิดผลที่ดีในชาตินี้และชาติถัดไป.

หัวข้อประเด็น

-การทำทาน
-คุณภาพชีวิต
-เจตนาบริสุทธิ์
-พระพุทธศาสนา
-ทักษิณา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๙๓ การพัฒนาคุณภาพชีวิต จากเรื่องนี้แสดงให้เห็นว่า ท่านจะให้ผลไพบูลย์เมื่อได้ถวายแด่ผู้นั้นก็เป็นทักษิณาโดยบุคคล ผู้รับจึงมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งที่จะทำให้ท่านนั้นเกิดประโยชน์สูงสุด และทำให้เกิดกำลังใจแก่ผู้ให้ จึงเป็นสิ่งที่ไม่เปล่าเลย ที่ในพระไตรปิฏกเราได้พบเห็นเรื่องราวของคนยากจน หรือบุคคลลอยในยามทุกข์ยาก ทุ่มเทการทำทานอย่างสุดกำลัง บางครั้งถึงกับสละอารมณ์มือสุดท้าย ถวายแต่ทักษิณาโดยบุคคล แล้วได้เสวยผลอันยิ่งใหญ่ ทำให้เราซึ่งเกิดในยุคปัจจุบันมีกำลังใจ ที่จะประกอบปฏิบัติตามคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าให้ยิ่งขึ้นไป ถ้าผู้ให้ให้อย่างเต็มกำลัง ผู้รับมิควรธรรมที่บริบูรณ์ หรือปฏิบัติ เพื่อความเป็นทักษิณาโดยบุคคล จะทำให้นั้นยืนยั้น คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่าดีจริงได้ ดังนั้นเราควรทำทานให้บริสุทธิ์บริบูรณ์ของประกอบของการให้ทั้ง ๓ อย่าง คือวัตถุบริสุทธิ์ เจตนาบริสุทธิ์ (ทั้งก่อนให้ กำลังให้ และหลังให้แล้ว) และบุคคลบริสุทธิ์ (ทั้งผู้รับและผู้ให้) ย่อมได้ผลบุญมาก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More