การไม่จองเวรและการให้อภัยในความสัมพันธ์ ทาน...ก้าวแรกแห่งการพัฒนาคุณภาพชีวิต หน้า 144
หน้าที่ 144 / 236

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงหลักการของการไม่จองเวรและการให้อภัยซึ่งกันและกัน โดยนำเสนอความสำคัญของความสัมพันธ์ที่ดีในสังคมและการสร้างความสงบสุข บทสนทนาเกี่ยวกับการหยุดการแก้แค้นได้แสดงให้เห็นถึงความรักและเมตตาระหว่างกัน เพื่อให้ทั้งสองฝ่ายสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข ผ่านการทรงพระราชดำรัสของพระเจ้าพรหมทัตที่เน้นความสำคัญของการป้องกันความขัดแย้งในอนาคตและการสร้างสันติภาพระหว่างบุคคล

หัวข้อประเด็น

-จองเวร
-การให้อภัย
-ไมตรีจิต
-ความสัมพันธ์ในสังคม
-พระเจ้าพรหมทัต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

४५ ทาน...ก้าวแรกแห่ง... ผลาญกันไม่รู้ลักษณ์ หลายกัปหลายกัลป์ นำมาแต่ความเดือดร้อน ส่วนการไม่จองเวรเป็นเรื่องสั้นๆ สามารถลงง่าย คนที่หวังความ สงบสุข จึงไม่ควรเห็นการผูกพยาบาทจองเวร ดีกว่าให้อภัยกัน อย่าเห็นสั้นดีว่าถาวร หมายถึง การลายมิตร เป็นเรื่อง สั้นๆ ส่วนการผูกมิตรโดยมีโมเมรตี้ต่ากันนั้นเป็นเรื่องยาว ดังนั้นไม่ ควรเห็นการทำลายมิตรดีว่าการผูกไมตรี สำหรับ เวรีอมไม่ระบับด้วยเวร แต่ว่า เวรีอมระบับ ได้ด้วยไม่ผูกเวร หมายถึง ถ้าหมอมฉันจะล้างแค้น ปลงพระชนม์ พระองค์เสีย ผู้ภักดีต่อพระองค์ก็จะตามฆ่าหมอมฉัน ส่วนผู้ภักดีต่อ หมอมฉันก็จะตามฆ่าผู้ภักดีของพระองค์อีก เป็นอันว่าระนั่นจะ ไม่ระบับด้วยการจองเวร” แล้วยังกล่าวต่อไปด้วยปิยวาจานำฟัง อีกด้วยว่า “ส่วนบัดนี้ พระองค์ทรงพระราชทานชีวิตให้หมอมฉัน และหมอมฉันก็ได้ถวายชีวิตแก่พระองค์ ได้เป็นผู้มีเมตตาต่อกัน ให้ อภัยซึ่งกันและกัน ชื่อวาเวรีอมระบับด้วยการไม่ผูกเวร” พระเจ้าพรหมทัตทรงปีติโสมนัสในถ้อยคำเหล่านี้ จึง ทรงพระราชทานราชสมบัติของกรุงโกศลพร้อมทั้งพระราชดำา แก่เจ้าพญามาร ต้นแต่นั้นมา ทั้ง ๒ พระองค์ ก็สามารถป้องดองกัน ต่างครองราชอย่างมีความสุขตลอดมา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More