การพัฒนาคุณภาพชีวิตผ่านการทำบุญ ทาน...ก้าวแรกแห่งการพัฒนาคุณภาพชีวิต หน้า 19
หน้าที่ 19 / 236

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจการพัฒนาคุณภาพชีวิตผ่านการทำบุญ การทำบุญเป็นการทำความดีและสร้างจิตใจที่บริสุทธิ์ โดยเฉพาะเมื่อให้กับผู้ที่ด้อยกว่า การทำบุญไม่เพียงแค่ศรัทธา แต่ยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในสังคม และช่วยให้ชีวิตมีความหมายมากขึ้น อ่านเพิ่มเติมที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การทำบุญและคุณภาพชีวิต
-บทบาทของการให้ในสังคม
-แนวคิดเกี่ยวกับบุญ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๙ การพัฒนาคุณภาพชีวิต ๙ ธัมเทสมงมัย บุญที่สำเร็จด้วยการแสดงธรรม ๑๐ ทิฏฐุชุกามม์ บุญที่สำเร็จด้วยการทำความเห็นให้ถูก ต้องดังงาม ตรงตามความเป็นจริง หรือสามารถอธิให้ยิ่งขึ้น เป็น บุญกิริยาวัตถุ ๓ คือ ทาน คิสิ ลภวา กได้ โดยจัดเป็น ทาน ประกอบด้วย ทานมัย ปัตตานมััย และปติฏฐุ- บุญนามัย คิสิ ประกอบด้วย สีมมัย อปจายมััย เวยาวัจฉมััย ภาวนา ประกอบด้วย ภาวนามัย ธัมมัสสวนมััย และธัมม เทสนามัย ทิฏฐุชุกาม์ จัดลงได้ทั้ง ทาน คิสิ และภาวนา ทาน หรือ การให้ เป็นหนึ่งในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ จึงนับ ว่าเป็นการทำบุญ เพราะ “บุญ” คือการทำความดี การให้จึงเป็น หนึ่งในการทำความดี แต่ส่วนมากเราใช้แทนกันจนคุ้นชิน โดยเวลา ถวายของแด่พระภิกษุสงฆ์ เรามักจะเรียกกันติดปากกว่า “ทำบุญ” เพราะจิตใจของผู้ให้ มีความศรัทธา ต้องการบุญกุศล จึงให้เพื่อ ชำระใจให้สะอาดบริสุทธิ์ แต่เมื่อให้ของแก่คนยากจน หรือคนที่มี ฐานต่ำกว่า ด้อยกว่าตน มักจะเรียกว่า “ทำทาน” เพราะจิตใจ ของผู้ให้มุ่งสงเคราะห์ อนุเคราะห์แก่คนยากจน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More