ข้อความต้นฉบับในหน้า
23
การพัฒนาคุณภาพชีวิต
มะม่วงมา 3 ผล ก็เลือกผลที่เล็กที่สุดให้ไป หรือได้ 3 ผลมีขนาดเท่าๆ กัน ก็เลือกผลที่ไม่ชอบใจให้ไป การให้อย่างนี้ เรียกทานทาน เพราะว่าจใจของทายกตกเป็นทาสของความตระหนี่แล้วจึงให้ ดูการให้สิ่งของแก่คนที่เป็นข้าทาสรับใช้ จะนั้น
2. ทานสหาย บางทีเรียกว่า สหายทาน หมายถึง ทายกให้ของที่เสมอกันกับที่ตนบริโภคใช้สอย ตนบริโภคใช้ของอย่างไรถึงควรจะให้ผู้อื่นก็ให้จนอย่างนั้น เช่น ได้มะม่วงมา 3 ผล ก็ให้ผลดีดี เช่นเดียวกับที่ตนจะบริโภค ดูการให้สิ่งของแก่คนที่เป็นมิตรสหาย ฉนั้น
3. ทานสมี บางทีเรียกว่า สมาทาน หมายถึง ทายกให้ของที่ดีประณีตกว่า ของที่ตนบริโภคใช้สอย โดยเลือกเอาสิ่งของที่ดีสุดให้ไป ซึ่งชาวพุทธทั้งหลายเวลาจะให้ ก็ให้สนานเป็นส่วนมาก เช่น เวลาจะตั บบาทพระ จะตัดข้าวปากหม้อ ซึ่งถือว่าเป็นส่วนที่ดีที่สุด เอาไว้ถวายพระก่อน หรือเวลาเลี้ยงพระภิกษาสามเณร จะตกแต่งข้าวปลาอาหารอย่างประณีต บรรจงว่าที่ตนเองบริโภค ถวายท่าน หรือเวลาจะให้ของแก่ผู้อยู่ผู้หนึ่ง แม้ว่าจะมานเสมอ หรือว่า ถ้าเรา ก็เลือกของที่ดีซื้บใจให้ไป อย่างนี้เรียกสนาน เพราะใจของผู้ให้เอาชนะความตระหนี่ เป็นนาย เป็นเจ้าของ เป็นอิสระ แล้วจึงให้ทาน ดูสิ่งของแก่มก่คนที่ตนเคารพ หรือมีพระคุณแกตน เช่น บิดา มารดา ครูอาจารย์ พระภิษุสงฆ์ ฉะนั้น