คำชี้พระมหามัชฌิมา คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค 4 หน้า 4
หน้าที่ 4 / 152

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับคำสอนของพระมหามัชฌิมา อันเน้นถึงความสำคัญของการเป็นผู้มีปัญญาและการให้ความรู้แก่ผู้อื่น โดยการแสดงถึงโทษจากการโกรธและการให้คำแนะนำอย่างถูกต้องแก่ผู้เรียน การสอนในที่นี้ยกตัวอย่างถึงการยอมรับและการดำเนินชีวิตที่ถูกต้องภายใต้ธรรมะต่างๆ ที่มุ่งหวังให้ผู้ปฏิบัติได้รับความรู้และหยุดยั้งความโกรธ

หัวข้อประเด็น

-คำสอนของพระมหามัชฌิมา
-ความสำคัญของการเป็นอาจารย์
-การหลีกเลี่ยงความโกรธ
-การเผยแพร่ความรู้แก่ผู้มีปัญญา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - คำชี้พระมหามัชฌิมา ยกศัพท์แปล ภาค ๔ - หน้า ที่ 4 ทสุเสฏฺฐวา โอวาทิมานปี ผู้มอ้อมอาจารย์ แสดงแล้ว ซึ่งโทษ กล่าวสอนอยู่ ณ กุขิตพุทธ์ ไม่พึงโกรธ ปน องค์ โอวาทาทโก ปุณฺโค อ. บุคล ผู้ให้ชึ่งโอวาท (ภิญญา) องค์ณญู ทญูโพ พิงเห็น นิออัญญนโก วิย (ทฺุวา) เป็นเป็นผู้เพียงดังวู่บอกซึ่ง ขุมทรัพย์ อิติ ดังนี้ อนุสนธิ มุจฺจา เทสนโต เมื่อจะ ทรงสืบต่อ ซึ่งอนุสนธิ แสดงดังธรรม อาท ตรัสแล้ว คำซึ่ง พระคาถา อมฺมิ นี้ว่า (ปุณฺโค) อ. บุคล ปุสโล พิงเห็น ย่อ อาจริย ซึ่งอาจารย์ใด วุขทสนิท ผู้มปกติแสดงซึ่งโทษ นิคุญหวา t ผู้มปกติกล่าวข่ม เมธาวี ผู้มีปัญญา (ทฺุวา) กระทำ ปฏต วอิว ให้เป็นผู้เพียงดัง ว่าผู้บอก นิจน ซึ่งขุมทรัพย์ ท. ภษ พิงคบ (ตฺ) อาจริย ซึออาจารย์นันน ตกิกี ผู้เชนันนั้น ปุณฺติ ผู้เปนบัณฑิต (ภิ) เพราะว่า (ปุณฺลสม) เมื่ออุปกก คามมาสุด คบอยู่ ตกิล อารีย ซึ่งอาจารย์ ผู้เชนันั้น เสยูโย คุุณ อ. คุณ อันประเสริฐว่า โอห์ ย่อมมี ปภโย โทสะ อ. โทษอันลามกว่า น (โท) ย่อมไม่มี อิติ ดังนี้ ฯ (อทฺโท) อ. อรรถว่า นิธฺภูมิที ซึ่งหมู่แห่งขุมทรัพย์ ท.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More