ความเร่าร้อนในร่างกายและจิตใจ คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค 4 หน้า 74
หน้าที่ 74 / 152

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเสนอให้เห็นถึงความเร่าร้อนซึ่งเกิดขึ้นทั้งในร่างกายและจิตใจตามหลักพระพุทธศาสนา โดยมีจุดเน้นที่การแนะนำโดยพระศาสดา เมื่อกล่าวถึงอำนาจแห่งสัมผัสที่ก่อให้เกิดความรู้สึกนี้ การส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวันและการจัดการกับความเร่าร้อนเป็นสิ่งสำคัญ แนะนำแนวทางและการศึกษาจากพระคาถาและคำสอนของพระคุณท่านเพื่อการสอนสั่งและสร้างสุขในชีวิต.

หัวข้อประเด็น

-ความเร่าร้อนในกาย
-ความเร่าร้อนในจิต
-คำสอนจากพระศาสดา
-อำนาจแห่งสัมผัส
-ผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค 2 - คำฉีดพระมิมทุจริต ยกศพที่แปล ภาค 4 หน้าที่ 74 (อุตโท) อ. อรรถวา ปรัชโห อ. ความเร่าร้อน ทวีโช อันมืออย่างสอง กายโข จ คือ อ. ความเร่าร้อนเป็นไปในกายด้วย เตสดิโก จ คือ อ. ความเร่าร้อนเป็นไปในจิตด้วย เศษฯ ปรีหาเสถ ในความเร่าร้อน ท. เหล่านั้นนา กายภิริโก้ อ. ความเร่าร้อน เป็นไปในกาย อุปุปชุนโต เกิดขึ้นอยู่ ชินาสวาสสุด แก่พระชินาสพ สิคุณหวาทิวาเสน ด้วยอำนาจแห่งสัมผัสเย็นและร้อนเป็นต้น อนพุทธโต ว ไม่บัดแจ้งเทียว วิชา จ อ. หมอชีวก สนุทราย หมายเอา ติ กายอภิริโก้ ซึ่งความเร่าร้อนเป็นไปในกายนี้บูรณ ทูลามแล้ว ๆ ปน แต่ว่า สตฺฏา อ. พระศาสดา เทสน์ ยิ่งท่าน วิเนุภูฏู รงให้เป็นไปในวิเศษ เจดกิริพาวเสน ด้วยอำนาจแห่งความ เร่าร้อนเป็นไปในจิต (อุดโท) มนุษยตาย เพราะความที่แห่ง พระองค์ทรงเป็นพระธรรมราช (อุดโท) เทสน์วิสุทธสุดา เพราะ ความที่แห่งพระองค์ทรงเป็นผู้ลาครในวิธีแห่งเทศนา อาหาร ตรัสแล้วว่า ชีวิต คู่่อื่นชีวิต อวโส ผู้มีอายุ ที่ กิฏิ ปริทิโก้ อ. ความเร่าร้อน น วิชฺชิต ย่อนมี ปีนาสวาสสุด แก่พระชินาสพ เอวรูปสุด ผู้มีรูป อย่างนี้ ปรมมกฺขน โดยอรรถอันยอดเยี่ยม อิติ ดังนี้ (อิดิ ดังนี้) (คาถาปาฏสุ) แห่งบานแห่งพระคาถาว่า ปริทิโก้ น วิชฺชิต อิติ ดังนี้ ๔
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More