ข้อความต้นฉบับในหน้า
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่เขต ๑๐
๓๓๓๖-๐๙๙๙
(พจนานุกรม มค.ไทย โดย พันตรี ป.ทองสมบูรณ์ สำนักงานเขตพื้นที่ปทุมธานี จัดพิมพ์ พ.ศ.๒๕๕๐ หน้า ๒๕๙)
ไวยากรณ์
น. วิภาษาว่าด้วยรูปคำและระเบียบในการประกอบคำให้เป็นประโยค. (ป. เวยากรณ, ส. ไวยากรณ์ ว่า นักศึกษาไวยากรณ์, อุทารณ ว่า ดำรงไว้ในอากาศ)
(พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๓๙ หน้า ๑๖๕)
ไวยากรณ์ ๑. ระเบียบของภาษา, วิชาว่าด้วยระเบียบแห่งภาษา ๒. คำหรือข้อความที่เป็นร้อยแก้ว, ความร้อยแก้ว ฯลฯ นวลสกุลกุศล (ไวยากรณ์ คือลความร้อยแก้วส่วน ในเนื้อ พระอิทธิปฏิปทา ทั้งหมด และพระอาจารย์ที่ไม่มีคาตา เป็นต้น)
(พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ โดย พระธรรม-ปิฎก (ป.ป)ฌฯ หน้า ๒๗๕๙)
ในหนังสือคู่มือเสริมแนวให้ความหมายคำว่า “ไวยากรณ์” วาปกรณ์อันประกอบ พร้อมแล้วด้วยควาเป็นเครื่องกระทำให้แจ้ง
รากศัพท์ของคำว่า “ไวยากรณ์”
ไวยากรณ์ มาจาก วิ บทรหน้า ก ราธ ในการกระทำ ลง ผู้บังอิญ (ว+กร+ย) พฤทธิ์ ๑ เป็น ๒ เอก ๒ เป็น ไอ ๖ (อยู) ที่มา ๖ ย เป็น อา แปลง ย เป็น อน ผลการันต์สะกด เป็นไวยากรณ์
วิเคราะห์ของคำว่า “ไวยากรณ์”
ไวยากรณ์นี้วิเคราะห์ว่า “พุทธศาสตร์ สมบูรณ์คุณ-ดี ไวยากรณ์ (ปากฎ)” (ย) ปกรณ์ พฤกษเนณ สมปฏิอุฎติ อติย ๖ ปกรณ์ ว่ามูญวัฒน์ คำแปล "ยะ ปกรณ์-อ.ปกรณ์ใด สมปฏิอุฎติ ประกอบพร้อมแล้ว พยากรณ์ - ตัววาวาเป็นเครื่องกระทำให้แจ้ง อติ - เพราะเหตุนี้ ๖ ปกรณ์ - อ.ปกรณ์นั้น ไวยากรณ์ - ชื่อว่า ไวยากรณ์ ฯ" เปล่า; ปราณีบประกอบพร้อมแล้วด้วยจาง เป็นเครื่องกระทำให้แจ้ง.